การสนองตอบของประชาชนต่อนโยบายปราศรัยหาเสียงเลือกตั้ง : กรณีวิจัยปฏิบัติการ เขตเลือกตั้ง ค จังหวัดนครราชสีมา
Publisher
Issued Date
1993
Issued Date (B.E.)
2536
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
7, 142 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กนกกาญจน์ อนุแก่นทราย (1993). การสนองตอบของประชาชนต่อนโยบายปราศรัยหาเสียงเลือกตั้ง : กรณีวิจัยปฏิบัติการ เขตเลือกตั้ง ค จังหวัดนครราชสีมา. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1689.
Title
การสนองตอบของประชาชนต่อนโยบายปราศรัยหาเสียงเลือกตั้ง : กรณีวิจัยปฏิบัติการ เขตเลือกตั้ง ค จังหวัดนครราชสีมา
Alternative Title(s)
The response to policy platform : a case of action research in the election area C Nakornrajchasima Province
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการวิจัยปฏิบัติการเกี่ยวกับการสนองตอบของประชาชนต่อนโยบายปราศรัยหาเสียงเลือกตั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและระดับการสนองตอบของประชาชนในเมืองและชนบท ขณะปราศรัยในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง.
วิธีการศึกษา การศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ใช้ทั้งการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กล่าวคือ ในเชิงคุณภาพนั้นเป็นการศึกษาโดยเน้นการปฏิบัติการในพื้นที่ของผู้วิจัย สัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และศึกษาจากเอกสาร แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ส่วนการศึกษาเชิงปริมาณนั้น ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์
ผลการศึกษา ข้อค้นพบของงานวิจัยครั้งนี้ พบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะชุมชนกับการสนองตอบต่อนโยบายปราศรัยลักษณะต่าง ๆ คือ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น โดยที่ประชาชนในชุมชนเมืองจะมีความสนใจ ความเข้าใจต่อนโยบายระดับชาติมากกว่าประชาชนในชุมชนชนบท และประชาชนในชุมชนชนบทจะมีความสนใจ ความเข้าใจต่อนโยบายระดับท้องถิ่นมากกว่าประชาชนในชุมชนเมือง ส่วนความเชื่อนั้น ประชาชนในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทมีความเชื่อตามนโยบายปราศรัยทั้ง 2 ระดับ ปานกลาง การปราศรัยในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งครั้งนี้ ทำให้ประชาชนไปเลือกผู้สมัครและพรรค
วิธีการศึกษา การศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ใช้ทั้งการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กล่าวคือ ในเชิงคุณภาพนั้นเป็นการศึกษาโดยเน้นการปฏิบัติการในพื้นที่ของผู้วิจัย สัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และศึกษาจากเอกสาร แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ส่วนการศึกษาเชิงปริมาณนั้น ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์
ผลการศึกษา ข้อค้นพบของงานวิจัยครั้งนี้ พบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะชุมชนกับการสนองตอบต่อนโยบายปราศรัยลักษณะต่าง ๆ คือ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น โดยที่ประชาชนในชุมชนเมืองจะมีความสนใจ ความเข้าใจต่อนโยบายระดับชาติมากกว่าประชาชนในชุมชนชนบท และประชาชนในชุมชนชนบทจะมีความสนใจ ความเข้าใจต่อนโยบายระดับท้องถิ่นมากกว่าประชาชนในชุมชนเมือง ส่วนความเชื่อนั้น ประชาชนในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทมีความเชื่อตามนโยบายปราศรัยทั้ง 2 ระดับ ปานกลาง การปราศรัยในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งครั้งนี้ ทำให้ประชาชนไปเลือกผู้สมัครและพรรค
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม.(พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2536.