ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด
Publisher
Issued Date
1997
Issued Date (B.E.)
2540
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[12], 181 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชาริณี จันทร์แสงศรี (1997). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1775.
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด
Alternative Title(s)
Factors affecting the efficiency of air traffic control officers of Aeronautical Radio of Thailand Limited
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 3) ศึกษาปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากน้อยต่างกันอย่างไร และ 4) เป็นแนวทางในการนำเสนอผู้บริหารศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศ / ประชากรในการศึกษา ได้แก่ พนักงานควบคุมจราจรทางอากาศ ซึ่งปฏิบัติที่สำนักงานใหญ (ทุ่งมหาเฆม) ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ข้อมูลการบิน ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจารทางอากาศ เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ จำนวน 155 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล / ผลการศึกษาพบว่า 1) ภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมของพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศพบว่า เป็นเพศชาย (ร้อยละ 57.3) เพศหญิง (ร้อยละ 42.7) มีอายุระหว่าง 25-30 ปี (ร้อยละ 42.7) และมีสถานภาพโสด (ร้อยละ 65.0) ส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 63.1) จบการศึกษาในสาขาด้านการควบคุมจราจรทางอากาศ (ร้อยละ 36.9) ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ (ร้อยละ 41.7) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศน้อยกว่า 5 ปี (ร้อยละ 49.5) โดยมีรายได้ระหว่าง 20,000-40,000 บาท (ร้อยละ 46.6) / 2) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน พบว่า พนักงานประมาณครึ่งหนึ่งมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 49.6) ในระดับสูงและในระดับต่ำ ร้อยละ 25.2 เท่ากัน /3) จากผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเท่านั้น พบว่า สถานภาพสมรส ระดับตำแหน่ง รายได้ และความพอใจในการทำงาน เป็นปัจจัยที่มีอิทธพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ส่วนผลการศึกษาปัจจัยที่สามารถอธิบายความผันแปรของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน พบว่า สถานภาพสมรถ และความพอใจในการทำงาน เป็นปัจจัยที่สามารถอธิบายความผันแปรได้ในอันดับหนึ่ง และอันดับสอง โดยอธิบายความผันแปรในเรื่องประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 12 (R = .124) นอกจากนั้นยังได้ศึกษาต่อไปถึงองค์ประกอบย่อยของความพอใจในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน พบว่า ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเป็นอันดับหนึ่ง และสองตามลำดับ โดยสามารถอธิบายความผันแปรในเรื่องประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 40 (R = .399)
The purposes of this research were (1) to study the effciency of air traffic control officers (2) to study factors affecting the efficiency (3) to study the degree of affecting of each individual factor on their efficiency and (4) the research results would be submitted to the management of the Air Traffic Control Center. / A total of 155 air traffic control officers working at the headguarter (Thung Mahamek) as flight data operator, assistant air traffic controller and air traffic controller. The total of 103 copies of questionnaires were returned. / Results / 1) Socio-economic background of the air traffic control officers about 57.3 percent were males, 42.7 percent were females. Almost half aged 25-30 (42.7%) and more than half were single (65.0%) Most obtained a bacheior's degree or higher (63.1%) About 36.9 percent majored in air traffic control. The assistant air traffic countroller accounted for 41.7 percent of the total subjects. About half the subjects worked at the air traffic control center for less than 5 years (49.5%). They had an income of 20,000-40,000 baht (49.6%) / 2. Around half of them worked efficiently at a hight level and 25.2% at a low level. / 3) Marital status, position, income and job satisfaction were found to significantly factors affect their work efficiency. The factors able to account for the variaton in work efficiency could be ranked in order of importance as marital status and job satisfaction, respectively. They could so at the rate of 12% (R = .124). When the components of job satifaction were considered, it was found that work accomplishment and work environment respectively were important factors affecting their work efficiency. It could account for 40 percent of the work efficiency (R = .399).
The purposes of this research were (1) to study the effciency of air traffic control officers (2) to study factors affecting the efficiency (3) to study the degree of affecting of each individual factor on their efficiency and (4) the research results would be submitted to the management of the Air Traffic Control Center. / A total of 155 air traffic control officers working at the headguarter (Thung Mahamek) as flight data operator, assistant air traffic controller and air traffic controller. The total of 103 copies of questionnaires were returned. / Results / 1) Socio-economic background of the air traffic control officers about 57.3 percent were males, 42.7 percent were females. Almost half aged 25-30 (42.7%) and more than half were single (65.0%) Most obtained a bacheior's degree or higher (63.1%) About 36.9 percent majored in air traffic control. The assistant air traffic countroller accounted for 41.7 percent of the total subjects. About half the subjects worked at the air traffic control center for less than 5 years (49.5%). They had an income of 20,000-40,000 baht (49.6%) / 2. Around half of them worked efficiently at a hight level and 25.2% at a low level. / 3) Marital status, position, income and job satisfaction were found to significantly factors affect their work efficiency. The factors able to account for the variaton in work efficiency could be ranked in order of importance as marital status and job satisfaction, respectively. They could so at the rate of 12% (R = .124). When the components of job satifaction were considered, it was found that work accomplishment and work environment respectively were important factors affecting their work efficiency. It could account for 40 percent of the work efficiency (R = .399).
Table of contents
Description
Methodology: Chi square test, Pearson product moment correlation, Stepwise multiple regression analysis
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.