วิถีชีวิตของผู้ประกอบการค้าแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี
Publisher
Issued Date
1997
Issued Date (B.E.)
2540
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
139 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สุนันท์ธนา แสนประเสริฐ (1997). วิถีชีวิตของผู้ประกอบการค้าแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1967.
Title
วิถีชีวิตของผู้ประกอบการค้าแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี
Alternative Title(s)
Street food vendors' way of life in Lopburi Municipality
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยเรื่อง วิถีชีวิตของผู้ประกอบการค้าแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและวิเคราะห์แนวโน้มวิถีชีวิตของผู้ประกอบการค้าในส่วนของการประกอบอาชีพและการปฏิบัติด้านสุขลักษณะ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์และสังเกตแบบมีส่วนร่วม ทั้งที่บ้านและที่แผงลอยจำหน่ายอาหารของผู้ประกอบการค้าจำนวน 19 คน และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของเทศบาลและศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อมเขต 2 สระบุรี จำนวน 9 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษามีความยากจนก่อนเข้าสู่อาชีพตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป โดยมีมูลเหตุการเข้าสู่อาชีพอันเนื่องมากจากครอบครัวหรือญาติพี่น้องชักชวน การเคยเป็นลูกจ้างประกอบอาหารมาก่อน และการฝึกทดลองทำอาหารขายแล้วได้ผลดี ผู้ประกอบการค้ามี 2 กลุ่ม คือกลุ่มผู้จำหน่ายอาหารในเวลากลางวันและกลางคืน โดยมีชั่วโมงการทำงานอยู่ระหว่าง 10-16 ชั่วโมงต่อวัน การดำเนินการค้ามีเครือญาติช่วยเหลือและประกอบกิจการทุกวันไม่มีวันหยุด ผู้ประกอบการค้าพอใจในการประกอบอาชีพของตน เนื่องจากเมื่อเข้าสู่อาชีพนี้แล้วมีความอิสระในการประกอบอาชีพเป็นเจ้าของกิจการเอง และมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้นโดยผู้ประกอบการค้ามีทรัยพย์สินเพิ่มขึ้น แต่นำรายได้มาปรับปรุงทางด้านสุขาภิบาลอาหารน้อยมาก ด้วยเศรษฐกิจที่ดีทำให้ผู้ประกอบการค้าต้องการสืบต่ออาชีพและแหล่งที่ตั้งที่ทำกินให้กับลูกหลานหรือญาติพี่น้องต่อไป.
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการค้าเป็นความสัมพันธ์ที่สามีและภรรยาช่วยกันทำงาน โดยมีทัศนคติที่มองเห็นคุณค่าการประกอบอาชีพในเชิงเศรษฐกิจเป็นด้านหลัก แต่ไม่ให้คุณค่าของอาชีพเชิงสังคม กล่าวคือผู้ประกอบการค้าอาหารนิยมส่งลูกให้เรียนในระดับสูงเพื่อมีโอกาสในการประกอบอาชีพที่มีเกียรติมากกว่าในอนาคต ยกเว้นคนที่ไม่สนใจเรียนหรือไม่สามารถเรียนต่อในระดับสูงได้ จะให้สืบทอดกิจการค้าต่อไป ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการค้าด้วยกันเองนั้นอยู่ในระดับผิวเผิน โดยเป็นความสัมพันธ์ส่วนตัวที่อยู่ในวงแคบระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการค้าที่ขายอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน ยังไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ระดับองค์กรอย่างได้ผล โดยผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่ยังมองไม่เห็นคุณค่า และยังไม่ได้รับประโยชน์จากชมรมที่จัดตั้งขึ้นเท่าที่ควร กิจกรรมและผลประโยชน์จึงอยู่ในแวดวงเฉพาะกรรมการเท่านั้นส่วนความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่เป็นลักษณะมุ่งเน้นในการแสดงบทบาทความรับผิดชอบที่ตนเองมีอยู่ โดยเจ้าหน้าที่พยายามควบคุมให้ผู้ประกอบการค้าขายอยู่เขตที่กำหนด และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการประกอบการค้าอาหารเท่านั้น โดยไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องการปรับปรุงด้าน สุขาภิบาลอาหารหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามสุขลักษณะ สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมการประกอบอาหารของผู้ประกอบการค้ายังไม่ถูกสุขลักษณะทั้งที่บ้านและที่แผงลอย เนื่องจากผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่ให้คุณค่าอาชีพแผงลอยจำหน่ายอาหารเฉพาะในแง่ทำรายได้ให้สูง โดยไม่ให้คุณค่าหรือความสำคัญในแง่ความรับผิดชอบของผู้ผลิตอาหารที่จะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค
ผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะขยายกิจการ โดยสืบทอดและขยายไปในกลุ่มวงศ์ญาติที่มีการศึกษาน้อย ยกเว้นผู้ประกอบการค้าบางรายที่ไม่เมีเครือญาติสืบทอด มีแนวโน้มจะเลิกกิจการในอนาคต ทำให้ช่องทางการเข้าสู่อาชีพสำหรับผู้ประกอบการการค้ารายใหม่ที่ไม่มีญาติสืบสายโยงใยให้ก่อนจะมีโอกาสเข้าสู่อาชีพนี้น้อยมาก เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องค่าใช้จ่ายที่สูงมากในการลงทุนเปลี่ยนมือเช่าสถานที่ และจำนวนแผลที่ขายถูกจำกัดและควบคุมโดยเจ้าหน้าที่และร้านค้าด้วยกันเอง ส่วนแนวโน้มการปฏิบัติด้านสุขลักษณะนั้น ผู้ประกอบการค้ายังคงมีแนวโน้มการจัดสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยและที่ขายอาหาร รวมทั้งพฤติกรรมอนามัยที่ไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพราะนอกจากผู้ประกอบการค้าอาหารจะไม่เห็นคุณค่าของการปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะแล้ว เจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เท่าที่ควร.
The objective of this research is to study the way of life of street food vendors, to predict what their future lifestyle will be and to analyse their techniques in regards to food hygiene behavior. The methodology used was interviewing nineteen street food vendors, observing their working behavior and working conditions. Nine officers from the municipality and the Environmental Health Center Region were also interviewed. The results of the research indicate that most street food vendors have only a primary level education, are poor, and have been working in this occupation for 10 years or more. Most of these operations are family business. The reasons why these people come to this occupation are : it's a family business and either mom & dad retire and the children take over or when business is good, relatives invite them to come and help to better their lives. Another reason is : with experience in some type of food preparation (restaurant or street food) these people feel that they now have enough money to own their own place. A third reason is : with no experience, only trying to make it and they happen to succeed. Street food vendors work either during the day or at night, but regardless their working time the hours are the same : 10-16 hours per day, everyday. Vendors are happy in this occupation because it gives them pride in the success of being an entrepreneur, it gives them a better standard of living, but rarely does their business improve food sanitation. With the success of their business, the vendors want to keep it in the family by sharing what they have with their children or other relatives. The street vendor has many relationships that are important in his life, such as family, others in the same occupation, and inspectors who are responsible for looking after these places of business. In the family this occupation gives the street vendor the money to further their children's education because they feel that although being a street vendor gives them economic stabiltiy, it does not achieve any social standing. These vendor feel that although they have had success in this occupation, they do not want their children to follow in their footsteps unless the child does not have the ability to achieve more through higher education. The relationship between vendors is formal, business only. Vendors only associate with those who are nearby. The framework for an association of street food vendors has been established by the authorities, but it's success has been limited because members connnot see how working together will get them more than what they have now.
Therefore only the elected officials in the association have seen the benefits of membership. The inspector's responsibilities are : to make sure that the vendor is selling within his boundaries, to collect money for vendor's licenses, and to check whether or not food sanitation policies are being followed. When the inspector comes, he looks to see if the vendor is using the right space and he collects the money, but he does not inspect for food sanitation practices. The vendor does not practice standards of food hygiene behavior either at home or at work because the vendor sees only money as the reason for preparting food, he does not believe that he is responsible for the health of those he is feeding. In the future the life of the vendor once he has achieved some success will be to expand his business and to include those relatives with little education. If the vendor has no children or relatives to pass on his business to, he will retire and close his business. For those who want to be vendors in the future without family already in the occupation, there is little opportunity because land and vending space is expensive and difficult to find. The importance of food hygiene and food sanitation vehavior is predicted to not change in the future because the vendor not see its importance and the inspector willl not fine or close down a vendor for uncleanliness.
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการค้าเป็นความสัมพันธ์ที่สามีและภรรยาช่วยกันทำงาน โดยมีทัศนคติที่มองเห็นคุณค่าการประกอบอาชีพในเชิงเศรษฐกิจเป็นด้านหลัก แต่ไม่ให้คุณค่าของอาชีพเชิงสังคม กล่าวคือผู้ประกอบการค้าอาหารนิยมส่งลูกให้เรียนในระดับสูงเพื่อมีโอกาสในการประกอบอาชีพที่มีเกียรติมากกว่าในอนาคต ยกเว้นคนที่ไม่สนใจเรียนหรือไม่สามารถเรียนต่อในระดับสูงได้ จะให้สืบทอดกิจการค้าต่อไป ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการค้าด้วยกันเองนั้นอยู่ในระดับผิวเผิน โดยเป็นความสัมพันธ์ส่วนตัวที่อยู่ในวงแคบระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการค้าที่ขายอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน ยังไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ระดับองค์กรอย่างได้ผล โดยผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่ยังมองไม่เห็นคุณค่า และยังไม่ได้รับประโยชน์จากชมรมที่จัดตั้งขึ้นเท่าที่ควร กิจกรรมและผลประโยชน์จึงอยู่ในแวดวงเฉพาะกรรมการเท่านั้นส่วนความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่เป็นลักษณะมุ่งเน้นในการแสดงบทบาทความรับผิดชอบที่ตนเองมีอยู่ โดยเจ้าหน้าที่พยายามควบคุมให้ผู้ประกอบการค้าขายอยู่เขตที่กำหนด และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการประกอบการค้าอาหารเท่านั้น โดยไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องการปรับปรุงด้าน สุขาภิบาลอาหารหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามสุขลักษณะ สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมการประกอบอาหารของผู้ประกอบการค้ายังไม่ถูกสุขลักษณะทั้งที่บ้านและที่แผงลอย เนื่องจากผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่ให้คุณค่าอาชีพแผงลอยจำหน่ายอาหารเฉพาะในแง่ทำรายได้ให้สูง โดยไม่ให้คุณค่าหรือความสำคัญในแง่ความรับผิดชอบของผู้ผลิตอาหารที่จะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค
ผู้ประกอบการค้าส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะขยายกิจการ โดยสืบทอดและขยายไปในกลุ่มวงศ์ญาติที่มีการศึกษาน้อย ยกเว้นผู้ประกอบการค้าบางรายที่ไม่เมีเครือญาติสืบทอด มีแนวโน้มจะเลิกกิจการในอนาคต ทำให้ช่องทางการเข้าสู่อาชีพสำหรับผู้ประกอบการการค้ารายใหม่ที่ไม่มีญาติสืบสายโยงใยให้ก่อนจะมีโอกาสเข้าสู่อาชีพนี้น้อยมาก เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องค่าใช้จ่ายที่สูงมากในการลงทุนเปลี่ยนมือเช่าสถานที่ และจำนวนแผลที่ขายถูกจำกัดและควบคุมโดยเจ้าหน้าที่และร้านค้าด้วยกันเอง ส่วนแนวโน้มการปฏิบัติด้านสุขลักษณะนั้น ผู้ประกอบการค้ายังคงมีแนวโน้มการจัดสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยและที่ขายอาหาร รวมทั้งพฤติกรรมอนามัยที่ไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพราะนอกจากผู้ประกอบการค้าอาหารจะไม่เห็นคุณค่าของการปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะแล้ว เจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เท่าที่ควร.
The objective of this research is to study the way of life of street food vendors, to predict what their future lifestyle will be and to analyse their techniques in regards to food hygiene behavior. The methodology used was interviewing nineteen street food vendors, observing their working behavior and working conditions. Nine officers from the municipality and the Environmental Health Center Region were also interviewed. The results of the research indicate that most street food vendors have only a primary level education, are poor, and have been working in this occupation for 10 years or more. Most of these operations are family business. The reasons why these people come to this occupation are : it's a family business and either mom & dad retire and the children take over or when business is good, relatives invite them to come and help to better their lives. Another reason is : with experience in some type of food preparation (restaurant or street food) these people feel that they now have enough money to own their own place. A third reason is : with no experience, only trying to make it and they happen to succeed. Street food vendors work either during the day or at night, but regardless their working time the hours are the same : 10-16 hours per day, everyday. Vendors are happy in this occupation because it gives them pride in the success of being an entrepreneur, it gives them a better standard of living, but rarely does their business improve food sanitation. With the success of their business, the vendors want to keep it in the family by sharing what they have with their children or other relatives. The street vendor has many relationships that are important in his life, such as family, others in the same occupation, and inspectors who are responsible for looking after these places of business. In the family this occupation gives the street vendor the money to further their children's education because they feel that although being a street vendor gives them economic stabiltiy, it does not achieve any social standing. These vendor feel that although they have had success in this occupation, they do not want their children to follow in their footsteps unless the child does not have the ability to achieve more through higher education. The relationship between vendors is formal, business only. Vendors only associate with those who are nearby. The framework for an association of street food vendors has been established by the authorities, but it's success has been limited because members connnot see how working together will get them more than what they have now.
Therefore only the elected officials in the association have seen the benefits of membership. The inspector's responsibilities are : to make sure that the vendor is selling within his boundaries, to collect money for vendor's licenses, and to check whether or not food sanitation policies are being followed. When the inspector comes, he looks to see if the vendor is using the right space and he collects the money, but he does not inspect for food sanitation practices. The vendor does not practice standards of food hygiene behavior either at home or at work because the vendor sees only money as the reason for preparting food, he does not believe that he is responsible for the health of those he is feeding. In the future the life of the vendor once he has achieved some success will be to expand his business and to include those relatives with little education. If the vendor has no children or relatives to pass on his business to, he will retire and close his business. For those who want to be vendors in the future without family already in the occupation, there is little opportunity because land and vending space is expensive and difficult to find. The importance of food hygiene and food sanitation vehavior is predicted to not change in the future because the vendor not see its importance and the inspector willl not fine or close down a vendor for uncleanliness.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.