• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

แนวทางการพัฒนาบริษัทเข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว : กรณีศึกษา บริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จำกัด (มหาชน)

by พัสพงศ์ เอี่ยมสุภาษิต

ชื่อเรื่อง:

แนวทางการพัฒนาบริษัทเข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว : กรณีศึกษา บริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จำกัด (มหาชน)

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Guidances for development towards green industry level 4 : a case study of Double A (1991) Public Company Limited, Prachinburi

ผู้แต่ง:

พัสพงศ์ เอี่ยมสุภาษิต

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

จำลอง โพธิ์บุญ

ชื่อปริญญา:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

คณะ/หน่วยงาน:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2560

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบริษัทให้ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 โดยวิธีการวิเคราะห์หาช่องว่าง (Gap Analysis) การนำเกณฑ์กำหนดของอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 ตามข้อกำหนดของกระทรวงอุตสาหกรรม มาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมสีเขียวของบริษัทที่ได้ดำเนินการสำเร็จในปัจจุบัน เพื่อวิเคราะห์หาช่องว่างที่เกิดขึ้น  และนำเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการศึกษาจะทำการเก็บข้อมูล การทบทวนเอกสาร การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์ สำหรับผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย  ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐและท้องถิ่น ผู้บริหาร พนักงานของสถานประกอบการ ผู้นำชุมชนและประชาชนบริเวณรอบสถานประกอบการ จำนวน 40 คน ในวิเคราะห์ข้อมูล ทำโดยการตรวจสอบแบบสามเส้า วิเคราะห์บริบทองค์กร โดยการใช้ SWOT Analysis และทำการกำหนดกลยุทธ์โดยการใช้ TOWS Matrix เพื่อการผลักดันบริษัทให้ประสบความสำเร็จในอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4  ผลการศึกษา พบว่า บริษัทได้ปฏิบัติตามเกณฑ์กำหนดอย่างครบถ้วนใน 3 ประเด็น   ได้แก่ 1) กระบวนการสร้างวัฒนธรรมองค์กร  2) การเคารพต่อหลักนิติธรรม และ 3) การปฏิบัติตามแนวทางสากล  องค์กรมีจุดอ่อนที่ไม่สามารถผลักดันโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวได้สำเร็จ คือ ด้านปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต โอกาสที่พบ คือ หน่วยงานภาครัฐเข้ามาสนับสนุน เพื่อแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกลยุทธ์ขององค์กร คือ  กลยุทธ์เชิงพัฒนาโดยการขอความช่วยเหลือสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ในการป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิตและส่งบุคลากรเข้าอบรมพัฒนาให้มีความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิต
This qualitative research aimed to study the development guideline for Green Industry Level 4 by using gap analysis method. The research methodology includes document review, observation, and interview with interested parties from government sector, public sector, and entrepreneurial employee for 40 persons. The method for collecting qualitative data were analyzed by using triangulation of data analysis techniques, SWOT Analysis and TOWS Matrix to determine. Furthermore, the case study was compiled with the Green Industry Level 4 criteria of the Ministry of Industry. The result of evaluation illustrated that the company achieved Green Industry level 4 in 3 issues as follows 1) Organizational Culture Process 2) Respect for the rule of law, and 3) Respect for international norms of behavior. However, the organization has a weakness point on the environmental production process issues. On the other hand, the opportunity from SWOT Analysis shows that government agencies would support the resolution of environmental issues. Therefore, the company strategic options that fit with the organization are the development strategies. These strategies show that the company needs supporting from government agencies for solving environmental pollution from production process and training staff to be competent with solving company issues.

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

หัวเรื่องมาตรฐาน:

อุตสาหกรรม -- แง่สิ่งแวดล้อม
สถานประกอบการ -- แง่สิ่งแวดล้อม
การพัฒนาอุตสาหกรรม

คำสำคัญ:

e-Thesis
อุตสาหกรรมสีเขียว

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

212 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4088
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b203276e.pdf ( 2,971.66 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [97]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×