Show simple item record

dc.contributor.advisorสุพรรณี ไชยอำพรth
dc.contributor.authorบารมี พานิชth
dc.date.accessioned2019-01-29T08:20:56Z
dc.date.available2019-01-29T08:20:56Z
dc.date.issued2016th
dc.identifier.otherb196942th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4131th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบและขั้นตอนการขับเคลื่อน ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต ในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาทัศนะต่อการนํากฎหมาย ร่าง พระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต ของประชาชนในสังคมไทยมาใช้ การศึกษาใช้ กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 25 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักตรรกะเทียบเคียงกับแนวคิด ทฤษฎีควบคู่กับบริบทและใช้สถิติเชิง พรรณนาประกอบth
dc.description.abstractผลการศึกษาพบว่าth
dc.description.abstract1) รูปแบบและขั้นตอนการขับเคลื่อน ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต ใน ประเทศไทย พบว่าเป็นลักษณะการประกอบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดความเปลี่ยนแปลงใน กฎหมายในระดับการขับเคลื่อนตามรูปแบบสันติวิธีตามจารีตกฎหมาย กล่าวคือมีในระดับประเทศ โดยยึดหลักการและเหตุผลทางกฎหมาย ไม่มีการใช้ความรุนแรงและเคารพระเบียบแนวทางการ จัดทํากฎหมายตามข้อกําหนดของรัฐธรรมนูญ โดยเป็นการพิจารณาแบบเป็นทางการth
dc.description.abstract2) ทัศนะของการประกาศใช้กฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต ของประชาชนในสังคมไทย ประกอบไปด้วย ทัศนะความคิดเห็นที่ผ่านมาจากการใช้เหตุผลของบุคคลผู้ที่ให้ข้อมูลที่สําคัญต่อประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1) ทัศนะต่อความจําเป็นของการมีกฎหมายการสมรสของ บุคคลเพศเดียวกัน 2) ทัศนะต่อความพร้อมในการนํากฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันมา ประกาศใช้ 3) ทัศนะต่อการยอมรับกฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันจากสาธารณชน 4) ทัศนะต่อความจริงจังของภาครัฐในการนํากฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันมาใช้จริง และ 5) ทัศนะต่อผลกระทบจากร่างพระราชบัญญัติ การจดทะเบียนคู่ชีวิตต่อครอบครัวและสังคมไทย ซึ่งพบว่าผู้ที่ให้ข้อมูลสําคัญนั้น ล้วนแล้วแต่ทราบถึงผลกระทบของการไม่ได้รับความ คุ้มครองจากกฎหมาย ทําให้เกิดผลเสียตามมา และสนับสนุนการขับเคลื่อนกฎหมายร่าง พระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตได้อย่างจริงจัง โดยผ่านระบบเครือข่ายที่มีอยู่ในหน่วยงาน กลุ่ม องค์การหลายภาคส่วนที่ให้ความร่วมมืออย่างสม่ําเสมอth
dc.description.abstractข้อเสนอแนะสําคัญคือการร่วมสร้างแนวทางการป้องกันแก้ไขและพัฒนาด้านนโยบายได้แก่ภาคประชาสังคมควรส่งเสริมความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางเพศโดย หน่วยงานรัฐและเอกชนหรือองค์การทางกฎหมาย และสถาบันการศึกษาต้องร่วมพัฒนาความเท่า เทียมของมนุษย์ และสถาบันครอบครัวถือเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาด้านการปลูกฝังทัศนคติที่ เข้าใจต่อความแตกต่างหลากหลายของเพศสภาพ ตลอดจนด้านวิชาการ ควรร่วมสร้างองค์ความรู้ และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศสภาพ ของสังคมมนุษย์อย่างยั่งยืนth
dc.description.provenanceSubmitted by นักศึกษาฝึกงานมราชภัฎยะลา_2562 (บุษกร แก้วพิทักษ์คุณ) (budsak.a@nida.ac.th) on 2019-01-29T08:20:56Z No. of bitstreams: 1 b196942.pdf: 1846178 bytes, checksum: 25f9b328d44279d3376261aacff1274a (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2019-01-29T08:20:56Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b196942.pdf: 1846178 bytes, checksum: 25f9b328d44279d3376261aacff1274a (MD5) Previous issue date: 2016th
dc.format.extent256 เเผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherการจดทะเบียนสมรสth
dc.titleรูปแบบและขั้นตอนการขับเคลื่อนร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตในประเทศไทยth
dc.title.alternativeForms and procedures driven bill of same-sex marriage in Thailandth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineการบริหารการพัฒนาสังคมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record