การตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ในตัวอย่างสุ่มจากประชากรปกติ
Publisher
Issued Date
2012
Issued Date (B.E.)
2555
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
77 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วรพรรณ เจริญขำ (2012). การตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ในตัวอย่างสุ่มจากประชากรปกติ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/465.
Title
การตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ในตัวอย่างสุ่มจากประชากรปกติ
Alternative Title(s)
A detection of outliers in random sample from normal population
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้นำเสนอตัวสถิติทดสอบสำหรับตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ TP1และTP2 ซึ่ง พัฒนาขึ้นมาจากสถิติทดสอบของ Ferguson(TN14และTN15) ที่ใช้สัมประสิทธิความเบ้และ สัมประสิทธิความโดงเป็นพื้นฐาน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ตัวอย่างสุ่มมาจากประชากรที่มีการ แจกแจงปกติ ทำการเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมความน่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อน ประเภทที่ 1 และกำลังของการทดสอบระหว่างตัวสถิติทดสอบที่นำเสนอกตัวสถิติทดสอบของ Fergusonแบ่งการศึกษาเป็น2กรณีคือ กรณีการทดสอบค่านอกเกณฑ์ด้านขวาใช้ตัวสถิติทดสอบ TP1และTN14 และกรณีการทดสอบค่านอกเกณฑ์สองด้านใช้ตัวสถิติทดสอบ TP2และTN15 โดย จำลองข้อมูลจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ ให้มีขนาดตัวอย่างต่างๆคือ 10 , 25 , 50 , 100 , 200 และ 500 กำหนดค่านอกเกณฑ์ตามสถานการณ์ต่างๆ กัน ในแต่ละสถานการณ์จำลองข้อมูลทำซ้ำ จำนวน 1,000 รอบ ผลการวิจัยพบว่าตัวสถิติทดสอบ TP1 สามารถยอมรับได้ทุกขนาดตัวอย่าง เมื่อกำหนดระดับนัยสำคัญ 0.01และ0.05 ส่วนตัวสถิติทดสอบTN14 สามารถควบคุมความน่าจะเป็น ของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01เมื่อตัวอย่างมีขนาดเล็กเท่านั้นกำลังของการทดสอบสำหรับการทดสอบค่านอกเกณฑ์สองด้าน เมื่อตัวอย่างขนาดเล็กและค่อนข้างเล็ก ตัวสถิติทดสอบTN15 มีกำลังของการทดสอบดีกว่าตัวสถิติทดสอบ TP2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อตัวอย่างขนาดใหญ่และขนาดใหญ่มาก ตัวสถิติทดสอบทั้งสองมีกำลังของการทดสอบพอๆกัน ทั้งที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และ 0.05
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012