เกณฑ์และสถิติทดสอบในการเลือกตัวแปรในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุกรณีที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูป
Publisher
Issued Date
2012
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
10, 144 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
นันทพร บุญสุข (2012). เกณฑ์และสถิติทดสอบในการเลือกตัวแปรในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุกรณีที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูป. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/471.
Title
เกณฑ์และสถิติทดสอบในการเลือกตัวแปรในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุกรณีที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูป
Alternative Title(s)
Criterion and test statistic for selecting multiple linear regression models without full model
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาเกณฑ์การคัดเลือกตัวแบบในการวิเคราะห์การถดถอย 3 เกณฑ์ คือเกณฑ์ ซีพี เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะ และเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์และเสนอการปรับเกณฑ์ซีพีในกรณี ที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูปได้เนื่องจากตัวแปรอิสระที่นำมาพิจารณามีความสัมพันธ์เชิงเส้นต่อกันอย่างสมบูรณ์ การคัดเลือกตัวแบบโดยใช้เกณฑ์ซีพีที่ปรับแล้วที่นำเสนอ นำมาเปรียบเทียบกับการคัดเลือกตัวแบบโดยใช้เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะ และเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์ โดยใช้วิธีการจำลองข้อมูล กำหนดขนาดตัวอย่างเท่ากับ 25 , 50 และ 100 นอกจากนี้ได้นำเสนอสถิติทดสอบซีพีที่ ปรับแล้วเพื่อใช้ในการทดสอบค้นหากลุ่มของสมการถดถอยที่สามารถใช้ในการอธิบายตัวแปรตาม ได้ โดยใช้การจำลองข้อมูลในการทดสอบการคัดเลือกกลุ่มของตัวแบบที่ระดับนัยสำคัญ 0.01, 0.05 และ 0.1 ผลการศึกษาพบว่า เกณฑ์ซีพีที่ปรับแล้วให้ผลการคัดเลือกตัวแบบสอดคล้องกับการใช้เกณฑ์เอไอซีและเกณฑ์บีไอซี คือ เมื่อขนาดตัวอย่างเพิ่มขึ้นร้อยละของการคัดเลือกตัวแบบได้ถูกต้อง มีค่าสูงขึ้น สถิติทดสอบซีพีที่ปรับแล้วเมื่อขนาดตัวอย่างเพิ่มขึ้นร้อยละของการคัดเลือกกลุ่มของตัว แบบที่ใช้ในการอธิบายตัวแปรตามได้เป็นตัวแบบที่ถูกต้อง และ over fit มีค่าเพิ่มมากขึ้น และเมื่อ ระดับนัยสำคัญเพิ่มขึ้นการคัดเลือกกลุ่มของตัวแบบที่ได้เป็ นตัวแบบที่ถูกต้องและ over fit มีค่าลดลง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012