• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ทัศนคติ การรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ออนไลน์

by นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์

Title:

ทัศนคติ การรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ออนไลน์

Other title(s):

Online advertising’s attitudes avoidance and its literacy

Author(s):

นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์

Advisor:

บุหงา ชัยสุวรรณ

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อ โฆษณาออนไลน์ 2. เพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค และ3. เพื่อศึกษา พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค โดยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative Research) ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research Method) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ที่มีช่วงอายุ ระหว่าง 18-68 ปี ซึ่งแบ่งกลุ่มตัวอย่างตามทฤษฎีเจเนอร์เรชั่น ได้แก่กลุ่มเบบี้บูมเมอร์ อายุระหว่าง 50-68 ปี เจเนอร์ เรชั่นเอ็กซ์ อายุระหว่าง 35-49 ปี และเจเนอร์เรชั่นวาย อายุระหว่าง 18-34 ปี จำนวนทั้งสิ้น 405 ตัวอย่าง
ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาออนไลน์ ในภาพรวมมีระดับทัศนคติ มาก มีการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาออนไลน์ในระดับมาก และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์ ของผู้บริโภค พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์โดยรวม ในระดับมาก
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่ากลุ่มเจเนอร์เรชั่นเอ็กซ์เป็นกลุ่มที่มีทัศนคติ การรู้เท่าทัน สื่อ และมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์มากที่สุด และพบว่ายิ่งผู้บริโภคมีทัศนคติบวก ต่อโฆษณาออนไลน์มากเท่าไหร่มีความสัมพันธ์กับความรู้เท่าทันสื่อมากเท่านั้น นอกจากนี้พบว่า ผู้บริโภคที่ทัศนคติต่อโฆษณาออนไลน์ในเชิงลบจะมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์มากขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

การรู้เท่าทันสื่อ
การเปิดรับข่าวสาร
โฆษณา

Keyword(s):

โฆษณาออนไลน์

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

203 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4951
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b190146.pdf ( 3,079.48 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [175]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×