อิทธิพลของศาสนาต่อปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสุข: กรณีศึกษาของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทย
Publisher
Issued Date
2016
Issued Date (B.E.)
2559
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
167 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b196934
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
พชร ใจอารีย์ (2016). อิทธิพลของศาสนาต่อปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสุข: กรณีศึกษาของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5221.
Title
อิทธิพลของศาสนาต่อปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสุข: กรณีศึกษาของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Influence of religiosity on factors affecting happiness: a case study of accounting professionals in Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
2) ผลกระทบของปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสุขภาพ ปัจจัยด้านงาน และปัจจัยด้านสังคมต่อ
ความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 3) บทบาทของความเชื่อในศาสนาในการเป็นตัวแปรกำกับ
ระหว่างปัจจัยด้านงานกับความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีโดยใช้แบบสอบถามในการสำรวจ
กลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยจำนวน 420 ชุด ได้รับการตอบกลับจำนวน 401
ชุด และนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิตพรรณนาและสถิติอนุมานรวมทั้งการถดถอยแบบลำดับชั้น
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีระดับค่าเฉลี่ยความสุข 7.149 (จากมาตรวัด
0-10) และจากการวิเคราะห์การถดถอยแบบลำดับชั้นพบว่า ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสุขภาพ
ปัจจัยด้านงาน ปัจจัยความเชื่อในศาสนาส่งผลกระทบต่อความสุขอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
และปัจจัยด้านสังคมส่งผลกระทบต่อความสุขอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยปัจจัยด้านงาน
เป็นปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสุขมากที่สุด และปัจจัยทั้งห้าสามารถอธิบายความแปรปรวนของ
ความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีได้ 34.10 % (r2 = .341) นอกจากนี้ความเชื่อในศาสนาแสดง
บทบาทการเป็นตัวแปรกำกับ (Moderator) ทางลบระหว่างปัจจัยด้านงานกับความสุขของผู้ประกอบ
วิชาชีพบัญชีนั่นคือลดผลกระทบระหว่างปัจจัยด้านงานกับความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ดังนั้นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดกลยุทธ์การสร้างความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพ
บัญชีควรให้ความสำคัญกับการสนับสนุนทั้งปัจจัยภายนอกที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิต
ได้แก่ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสุขภาพ ปัจจัยด้านงาน ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัยภายในที่
เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและแนวทางการดำรงชีวิตอย่างเช่น ปัจจัยด้านศาสนา เพื่อส่งผลให้พนักงานมี
ความสุขอย่างยั้งยืน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559