การพัฒนาคุณภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียของโรงงานเอทานอลโดยการผสมกากมันสำปะหลัง ผักตบชวา และน้ำเสียจากฟาร์มสุกร
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
80 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194267
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ดำเนินทราย ทรัพย์ไพศาล (2016). การพัฒนาคุณภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียของโรงงานเอทานอลโดยการผสมกากมันสำปะหลัง ผักตบชวา และน้ำเสียจากฟาร์มสุกร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5352.
Title
การพัฒนาคุณภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียของโรงงานเอทานอลโดยการผสมกากมันสำปะหลัง ผักตบชวา และน้ำเสียจากฟาร์มสุกร
Alternative Title(s)
Development of biogas production using mixed resources cassava, water hyacinth and water mixed with swine wastewater
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
น้ำวีนัสเป็นน้ำ เสียจากการผลิตเอทานอลมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น จากเป้าหมายการใช้เอทานอลที่สูงขึ้นตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ปี2558-2579 ดังนั้น งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการทำการทดลองหมักน้ำ วีนัส ด้วยของผสม 3 ชนิด คือ กากมันสำปะหลัง ผักตบชวา และน้ำเสียจากฟาร์มสุกร เพื่อศึกษาความเหมาะสมของชนิดของของผสม และอัตราส่วนของการผสมโดยทำการหมักของผสมในอัตราส่วนที่ร้อยละ10, 30 และ50 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ค่าความ เป็นกรดด่างเริ่มต้น ให้อยู่ในช่วง 6.5 – 7.5 และทำการหมักที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 40 วัน แล้วนำก๊าซที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์ปริมาณก๊าซมีเทน และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์จากการทดลองพบว่า การผสมกากมันสำปะหลังกับ น้ำวีนัสจะช่วยปรับปรุงคุณภาพของก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นโดยส่งผลให้ได้ ปริมาณก๊าซมีเทนที่สูงขึ้น และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่ลดลง ส่วนการผสมผักตบชวากับ น้ำวีนัส นั้น ให้ผลที่ดีเมื่อผสมผักตบชวามีสัดส่วนอยู่ที่ ร้อยละ50 ซึ่งทำให้ได้ก๊าซมีเทนที่สูงขึ้น และปริมาณ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่ต่ำ สำหรับการผสมน้ำเสียจากฟาร์มสุกรที่ร้อยละ 30 ช่วยลดการเกิดก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้แต่ต้องผสมที่ร้อยละ 50จึงจะสามารถให้ความเข้มข้นของก๊าซมีเทนที่สูงขึ้น โดยสรุป การหมักแบบผสมของน้ำวีนัสกับกากมันสำปะหลัง ผักตบชวาและน้ำ เสียจากฟาร์มสุกร สามารถปรับปรุงคุณภาพของก๊าซชีวภาพได้เมื่อเปรียบเทียบของผสมทั้ง 3 ชนิดพบว่า ผกัตบชวาที่ ร้อยละ 50 ให้ผลดีที่สุดคือได้ปริมาณก๊าซมีเทน 852,579 ppm และ เกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์น้อยกว่า 0.01 mg/m3 ผล COD พบว่าการผสมผักตบชวาที่ร้อยละ 50 ทำให้ค่า COD ภายหลังจากการหมัก เหลืออยู่ต่ำที่สุดที่ 37,240 mg/L
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559