กลยุทธ์การสื่อสาร และการรับรู้โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ผ่านชุมชนออนไลน์
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
109 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194234
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ภัทรพงศ์ เหล่าไพโรจน์ (2016). กลยุทธ์การสื่อสาร และการรับรู้โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ผ่านชุมชนออนไลน์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5368.
Title
กลยุทธ์การสื่อสาร และการรับรู้โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ผ่านชุมชนออนไลน์
Alternative Title(s)
Strategic communications and recognition of the social responsibility of Toyota Motor Thailand Ltd. through online communities
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การสื่อสาร และการรับรู้โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัดผ่านชุมชนออนไลน์ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษา รูปแบบของการสื่อสารขององค์กร ที่มีกับ ชุมชนออนไลน์เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด (2) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารโครงการความ รับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด (3) เพื่อศึกษาการรับรู้โครงการ ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ผ่านชุมชนออนไลน์ของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด งานวิจัยนี้ใช้วธีการวิจัยเป็น 2 รูปแบบ คือการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) ใช้การวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) และการวิจัยเชิง ปริมาณใช้การสำรวจกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คนโดยใช้แบบสอบถาม สรุปผลการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่าบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด ใช้กลยุทธ์ การสื่อสารดังนี้ (1) สื่อสังคมออนไลน์(Social Network) เช่น Website (http://www.toyota.co.th/) และ Facebook เป็นเครือข่ายทางสังคมแบบกลุ่ม (Social Community) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ แบ่งปันข้อมูลระหว่างกัน (2) สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร หนงัสือพิมพ์เป็นขอ้มูลที่เข้าใจง่าย และ ชัดเจนกับผู้ใช้งานชุมชนออนไลน์(3) สื่อมวลชนเป็นการเก็บข้อมูลข่าวสาร ความต้องการต่าง ๆ ที่ ผู้บริโภคร้องเรียนผ่านสื่อมวลชน (4) สื่อบุคคลมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจรับรู้โครงการความ รับผิดชอบต่อสังคมเนื่องจากเป็นผู้นำความคิดไปสู่ความร่วมมือของผู้ที่เข้ามาใช้งานชุมชน ออนไลน์สรุปผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่าปัจจยัภายนอกด้านการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ข่าวสารโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม กับทัศนคติที่มีต่อโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม และการ ยอมรับในโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งปัจจัยที่สามารถพยากรณ์ได้แก่ (1) การรับรู้ข่าวสารโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทฯ และ (2) ทัศนคติต่อโครงการรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ฯ สามารถพยากรณ์ตัว แปรการยอมรับโครงการรับผิดชอบทางสังคมของโตโยต้าได้ร้อยละ 67.5
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559