ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ ที่มีต่อการยอมรับและการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
159 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193277
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วิขชุดา กิมอ่วม (2015). ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ ที่มีต่อการยอมรับและการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5418.
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ ที่มีต่อการยอมรับและการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค
Alternative Title(s)
The relationships among the consumer innovativeness, online television watching behaviors, acceptance of the remade historical television series and fanclub behaviors
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของ ผู้บริโภคกับ พฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ 2)ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรม ของผบู้ริโภคกับการยอมรับละครผลิตซ้า ที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค และ 3)ความสัมพันธ์ระหว่างความ มีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำ ที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังคือกลุ่ม Net Gen อายุระหว่าง 18-35 ปีจำนวน 400 โดย ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็ นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่ออธิบายข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง และใช้สถิติ วิเคราะห์ความสัมพันธ์(Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความถี่ในการรับชมละครโทรทัศน์ ออนไลน์ 1-2 วัน/สัปดาห์ โดยรับชมวันละ 1-2 ชั่วโมง มีการยอมรับละครผลิตซ้ำ ที่เป็นแนวเรื่อง ย้อนยุค อยู่ในระดับ ปานกลางและเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุคในระดับน้อย และจากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) ความมีนวตักรรมของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ พฤติกรรมการการดูละครโทรทัศน์ออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.001 2) ความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการยอมรับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ 3) ความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำ ที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558