ความคาดหวังกับการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย กรณีศึกษา : จังหวัดกาญจนบุรี
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
147 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b193214
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปฤณฑร กิ่งทอง (2016). ความคาดหวังกับการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย กรณีศึกษา : จังหวัดกาญจนบุรี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5456.
Title
ความคาดหวังกับการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย กรณีศึกษา : จังหวัดกาญจนบุรี
Alternative Title(s)
The expectation and the perception of adventurous destination image: case study in Kanchanaburi Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัยในจังหวัดกาญจนบุรีโดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ภาพลักษณ์โดยรวม ภาพลักษณ์ด้านการปฏิบัติการและจิตวิทยาและภาพลักษณ์ที่โดดเด่น ทั้งก่อนและหลังเดินทางมาเพื่อประเมินความคาดหวังและการรับรู้ของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจากนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ชาวไทยจำนวน 400 คน และ ชาวต่างชาติจำนวน 200 คน โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติ Independent T test และ Paired Sample T test เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างความคาดหวังและการรับรู้ผลการศึกษาพบว่า นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีการรับรู้มากกว่าความคาดหวังทุกด้าน โดยนักท่องเที่ยว ชาวไทยคาดหวังภาพลักษณ์โดยรวมในด้านที่พักมากที่สุดและรับรู้ในด้านสิ่งดึงดูดใจมากที่สุด โดย กิจกรรมสามารถทำให้นักท่องเที่ยวรู้สึกผ่อนคลายและรู้สึกสนุกสนาน ทั้งยังสร้างประสบการณ์ และความประทับใจได้เป็นอย่างดีซึ่งผลการวิจยัในครั้งนี้สามารถนำมาช่วยพัฒนาและส่งเสริมให้ ผู้ประกอบการเล็งเห็นแนวทางในการสร้างจุดเด่นและแก้ไขจุดด้อยเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการสร้าง ผลกำไรและธุรกิจได้ในภายภาคหน้า รวมถึงภาครัฐยังสามารถนำผลที่ได้ไปพัฒนาเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีทางการท่องเที่ยวได้อีกด้วย
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559