มาตรการในการป้องกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์
Publisher
Issued Date
2016
Issued Date (B.E.)
2559
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
101 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194159
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
โสภิตนภา พัวศิริมิตร (2016). มาตรการในการป้องกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5469.
Title
มาตรการในการป้องกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์
Alternative Title(s)
Preventive and suppression measures on copyrights violation
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองลิขสิทธิ์ และการบังคับใช้กฎหมาย มาตรการทางกฎหมายและทางสังคมในการป้องกันและปราบปรามการ ละเมิดลิขสิทธิ์ แนวทางในการป้องกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์จากภาครัฐและเอกชน โดย ศึกษาจากมาตรการทางกฎหมายและมาตรการจากภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม การละเมิดลิขสิทธิ์ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการซื้อสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีอัตราการละเมิดลิขสิทธิ์ค่อนข้างสูง ปัญหาการละเมิด ลิขสิทธิ์ส่งผลกระทบโดยตรงแก่เจ้าของลิขสิทธิ์ และส่งผลต่อเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ประเทศสูญเสีย รายได้จากการจัดเก็บภาษี ประเทศคู่ค้ายกปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์มาเป็นมาตรการกีดกันทางการค้า แก่ประเทศไทย ทั้งนี้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมีความพยายามที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ มี บทบัญญัติทางกฎหมายในการคุ้มครองผลงานลิขสิทธิ์ และมีมาตรการในการป้องกันและปราบปราม การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ดีเท่าที่ควร ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย เนื่องจากปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์กระจาย อยู่ทั่วภูมิภาคของประเทศ แหล่งจําหน่ายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์เมื่อโดนเจ้าหน้าที่เข้าจับกุม ดําเนินคดี ก็จะกลับมาขายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์เช่นเดิม ดังนั้นถ้าสามารถปราบปรามแหล่งขายสินค้าละเมิด ลิขสิทธิ์ให้หมดไปได้ น่าจะมีส่วนช่วยให้ปริมาณการละเมิดลิขสิทธิ์ลดลงไปได้มาก ดั่งที่มาตรการที่ ภาครัฐกําลังดําเนินการอยู่ สระแก้วโมเดล เปลี่ยนแหล่งขายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ขนาดใหญ่ ให้เป็น ศูนย์กลางตลาดอาเซียน แหล่งจําหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ไปยังเวียดนาม กัมพูชา นอกจากนี้ยังมี ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการซื้อสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญา ทัศนคติเกี่ยวกับการเลือกซื้อเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค ปัจจัยด้านสภาพเศรษฐกิจ สังคม และครอบครัว เหล่านี้ล้วนเป็นเหตุให้ประชาชนเลือกซื้อสินค้าละเมิดโดยมิได้คํานึงถึงการเคารพสิทธิ ทางปัญญาของ แนวทางการแก้ไขปัญหาทรัพย์สินทางปัญญาอีกด้านหนึ่ง คือการแก้ที่ผู้บริโภค ให้ ตระหนึกถึงคุณค่าทรัพย์สินทางปัญญา ปลูกฝังค่านิยม ทัศนคติในการซื้อสินค้า เลิกซื้อ เลิกใช้สินค้า ละเมิดลิขสิทธิ์ ส่งเสริมความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญาให้เข้าถึงประชาชน สนับสนุนให้มีการเรียนการ สอนเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาในโรงเรียน โดยเริ่มตั้งแต่ระดับประถมภูมิให้เด็กและเยาวชนได้เริ่ม เรียนรู้การเคารพสิทธิทางปัญญา ส่งเสริมให้เยาวชนได้คิดสร้างสรรค์ผลงาน และเสริมสร้างหลัก คุณธรรม-จริยธรรมแก่เยาวชนและประชาชนในสังคมไทย
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (กฎหมายและการจัดการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559