ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553 : ศึกษากรณีโครงสร้าง การมีส่วนร่วม และสิทธิบางประการของเกษตรกร
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
198 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b194158
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
พิมพิกา เสลานนท์ (2016). ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553 : ศึกษากรณีโครงสร้าง การมีส่วนร่วม และสิทธิบางประการของเกษตรกร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5472.
Title
ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553 : ศึกษากรณีโครงสร้าง การมีส่วนร่วม และสิทธิบางประการของเกษตรกร
Alternative Title(s)
The problems in issuing driver licenses for riders of large motorcycles (big bike)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นองค์กรทางการเกษตรที่ถูกจัดต้องขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการ คุ้มครองรักษาผลประโยชน์และปกปักษ์รักษาสิทธิเกษตรกร รวมถึงเป็นเวทีระดับชาติของเกษตรกรใน การสะท้อนปัญหาในภาคเกษตรกรรมให้รัฐบาลรับทราบปัญหาความต้องการของเกษตรกร ทั้งนี้เพื่อให้มีการดําเนินการคุ้มครอง รักษาผลประโยชน์ของเกษตรกรในการผลิตและการตลาด โดย ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเกษตรกรรม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นในด้านเศรษฐกิจและสังคม จากการศึกษาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติพ.ศ.2553 ซึ่งป็นบ่อเกิด ของสภาเกษตรกรแห่งชาติพบว่ามีเนื้อหาหลายประการที่ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ในการจัดตั้งสภา เกษตรกรแห่งชาติไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างของสภาเกษตรกรที่ไม่อื้ออํานวยต่อการบริหารงาน ขาดความเชื่อมโยงกับระดับท้องถิ่น การได้มาของสมาชิกสภาเกษตรกรที่ถูกแทรกแซงจากกลุ่ม นายทุน นักธุรกิจ หรือเกษตรกรรายใหญ่ และปิดโอกาสเกษตรกรรายย่อย รวมไปถึงบทบาทอํานาจ หน้าที่ที่เน้นไปในรูปแบบของสภาที่ปรึกษา ไม่มีอํานาจในการตัดสินใจจะดําเนินการตามนโยบายใดๆ ให้เกิดผลสําเร็จอย่างเป็นรูปธรรมได้ปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้สภาเกษตรกรไม่อาจทําหน้าที่ปกปักษ์ รักษาผลประโยชน์และสิทธิเกษตรกรได้อย่างเต็มที่ ดังนี้เพื่อให้การดําเนินงานของสภาเกษตรกรแห่งชาติเป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งการจัดตั้ง ผู้เขียนจึงขอเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาคือ แก้ไขบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ.2553 ในส่วนของโครงสร้างของสภาเกษตรกรแห่งชาติให้มีความเชื่อมโยงกับระดับท้องถิ่น รวมถึงแก้ไขวิธีการได้มาของสมาชิกสภาเกษตรแห่งชาติเพื่อป้องกันการแทรกแซงจากกลุ่มนายทุน นักธุรกิจ หรือเกษตรกรรายใหญ่ รวมถึงเปิดโอกาสให้เกษตรกรรายย่อยเข้ามามีบทบาทในสภาเกษตรกรแห่งชาตินี้และเพิ่มบทบาทอํานาจหน้าที่ในการดําเนินการในเชิงรุกให้เกิดผลสําเร็จอย่าง ชัดเจนเป็นรูปธรรม เพื่อให้สภาเกษตรกรนั้นเป็นสภาเพื่อเกษตรกรอย่างแท้จริง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559