การเปรียบเทียบการประมาณค่าเฉลี่ยประชากรในการเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย : กรณีมีข้อมูลสูญหาย
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
82 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b197578
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
พิมพ์ชนก เชาวณาพรรณ์ (2016). การเปรียบเทียบการประมาณค่าเฉลี่ยประชากรในการเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย : กรณีมีข้อมูลสูญหาย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5751.
Title
การเปรียบเทียบการประมาณค่าเฉลี่ยประชากรในการเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย : กรณีมีข้อมูลสูญหาย
Alternative Title(s)
Comparison of imputation mean estimations in simple random sampling: missing data
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการประมาณค่าสูญหาย 3 วิธี คือ วิธีการถดถอย วิธีการถดถอยด้วยระยะห่างต่ำสุด และวิธีเอ็มไอ โดยการจำลองข้อมูลด้วยเทคนิคมอนติคาร์โล ประกอบด้วยตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามอย่างละหนึ่งตัวแปรที่มีการแจกแจงแบบปกติ มีค่าเฉลี่ย 10 และความแปรปรวน 1 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ คือ 0.10 0.30 0.50 0.70 และ 0.90 กำหนดขนาดตัวอย่างเป็น 30 60 100 และ 300 ท าซ้ำ 1,000 รอบทุกกรณี กำหนดเปอร์เซ็นต์การสูญหายของตัวแปรตามเป็นไปอย่างสุ่มที่ 5 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์ ในทุกขนาดตัวอย่าง กำหนดสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น 0.95 เกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คือ สัมประสิทธิ์การแปรผันและค่าความน่าจะเป็นครอบคลุม
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการประมาณค่าสูญหายทั้ง 3 วิธี ให้ค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันและค่าความน่าจะเป็นครอบคลุมของตัวประมาณใกล้เคียงกัน และค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันของตัวประมาณมีค่าลดลงเมื่อขนาดตัวอย่างเพิ่มขึ้น ส่วนค่าความน่าจะเป็นครอบคลุมของตัวประมาณมีค่าใกล้เคียงค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น 0.95 เนื่องจากวิธีการถดถอยเป็นวิธีที่ง่ายและไม่ซับซ้อน วิธีการถดถอยจึงเป็นวิธีการประมาณค่าสูญหายที่เหมาะสมที่สุดในการวิจัยครั้งนี้
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559