การศึกษาความเข้าใจความแตกต่างของไกโรโงะกับคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกันของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
166 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b201080
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สุดารัตน์ กาญจนพนาสนท์ (2017). การศึกษาความเข้าใจความแตกต่างของไกโรโงะกับคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกันของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5824.
Title
การศึกษาความเข้าใจความแตกต่างของไกโรโงะกับคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกันของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย
Alternative Title(s)
A Study about How Thai Students Learning Japanese Understand the Differences between Gairaigo and Their Japanese Synonyms.
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวจิยัครั้งนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจความแตกต่างของไกไรโงะกับคำ ประเภท
อื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน และศึกษาปัจจัยด้านความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นและปัจจัยด้าน
ประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นว่ามีผลต่อการเลือกใช้ไกไรโงะกับ คำประเภทอื่นที่มี
ความหมายใกลเ้คียงกนัของผเู้รียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยหรือไม่อย่างไร โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 2กลุ่มคือ
กลุ่ม A เป็นกลุ่มผู้ที่มีผลการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นระดับ N2จำนวน 30คน และกลุ่ม B เป็นกลุ่ม
ผู้ที่มีผลการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นระดับ N3จำนวน 34 คน รวม 64คน ซึ่งเป็นกลุ่มตวัอย่างที่สุ่ม
มาจากนักศึกษาสาขาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยศรีนครินท
รวิโรฒ ที่กำลังศึกษาในระดับ ช้ันอุดมศึกษาชั้น ปีที่ 3และชั้นปีที่4 ทำการเก็บข้อมูลโดยการใช้
แบบสอบถามให้เลือกไกไรโงะและคำ ที่มีความหมายใกลเ้คียงกันและเติมลงในประโยคที่กำหนดให้
จำนวน 30 ข้อและเขียนอธิบายความแตกต่างของคำที่กำหนดให้หลงัจากนั้น ทำการวิเคราะห์ผล
การศึกษา
จากการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีแนวโน้มเข้าใจความแตกต่างระหว่างไกไร โงะกับคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน ซึ่งสัดส่วนในภาพรวมมีอัตราการตอบได้ถูกต้อง สูง ซึ่งคำถามให้เติมระหว่างคำว่า「チケット」กับ「切符」เป็นคำถามที่มีสัดส่วนคำตอบได้ ถูกต้องสูงที่สุดในบรรดาคำถามทั้ง 30 ข้อ(2)กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม A ที่มีความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น สูงกว่าสามารถตอบได้คะแนนดีกว่ากลุ่มตัวอย่าง B และมีแนวโน้มสามารถนำไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมมากกว่า (3) จากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าคำที่ปัจจัยด้านความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น และปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อความเข้าใจความแตกต่างระหว่าง
ไกไรโงะและคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน มีทั้งหมด 4 คู่ได้แกคำ ว่า 「プラン」กับ「計画」คำว่า 「ライス」กับ 「ご飯」คำว่า 「ミス」กับ 「失敗」และคำว่า 「スタート」กับ 「開始」 (4) กลุ่มตัวอย่างบางส่วนที่ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างไกไรโงะกับคำ ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1.ลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของภาษาอังกฤษ 2.ลักษณะการใช้คำ ปรากฏร่วม และ 3.ลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของตารางเรียนภาษาญี่ปุ่น โดยลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของภาษาอังกฤษมีความโดดเด่น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. ภาพลักษณ์ของคำ ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน โดยจากผลที่ให้กลุ่มตัวอย่างอธิบาย ความแตกต่างของภาพลักษณ์ของคำทั้ง 10 คู่ พบว่า มีคำ 6 คู่คำ ได้แก่คำ ว่า 「ミス」กับ 「失敗」 คำว่า「プラン」กับ「計画」คำว่า「ダンス」กับ 「踊る」คำว่า「ショッピング」กับ「買い 物」คำว่า 「インタビュー」กับ 「面接」และคำว่า「スタート」กับ 「開始」ที่กลุ่มตัวอย่างให้ ความหมายในลกัษณะของภาพลักษณ์ความคิดเห็น หรือการกระทำ ที่ไม่ใช่สิ่งของที่สามารถจับต้อง ได้ 2.ความหมายของคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน คือกลุ่มตัวอย่างเข้าใจความหมายของคำศัพท์ ตามความหมายในภาษาเดิมเช่น คำว่า 「ライス」ในภาษาอังกฤษที่ใชกับข้าวที่หุงแล้วหรือข้าวที่ยัง ไม่ได้หุงได้แต่ในภาษาญี่ปุ่นหมายถึงข้าวที่หุงสุกแล้วเท่านั้นและ 3.ชนิดของคำที่มีความหมาย ใกล้เคียงกันซึ่งลักษณะความเข้าใจชนิดของคำ ผิดเนื่องจากมีอิทธิพลมากจากภาษาอังกฤษนั้น เป็น ผลการศึกษาที่ไม่ปรากฏในงานวิจัยใดมาก่อน (5) คำที่กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้ม เข้าใจผิดส่วนมากเป็น คำที่กลุ่มตัวอย่างอธิบายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้เป็นอากัปกิริยามากกว่าคำที่สามารถอธิบาย เป็นสิ่งที่สามารถจับต้องได้
จากการศึกษานี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างสามารถเข้าใจความแตกต่างของคำที่มีความหมาย ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ปัจจัยด้านความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นและปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นมีแนวโน้ม ส่งผลต่อความสามารถในการเลือกใช้ และความเข้าใจความแตกต่าง ระหว่างไกไรโงะและคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน แต่ปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นที่แตกต่างกันจะพบมีผลต่อความเข้าใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้ทาง ภาษาญี่ปุ่นในระดับ N3 มากกว่ากลุ่มตวัอย่างที่มีความรู้ทางภาษาญี่ปุ่นระดับ N2
จากการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีแนวโน้มเข้าใจความแตกต่างระหว่างไกไร โงะกับคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน ซึ่งสัดส่วนในภาพรวมมีอัตราการตอบได้ถูกต้อง สูง ซึ่งคำถามให้เติมระหว่างคำว่า「チケット」กับ「切符」เป็นคำถามที่มีสัดส่วนคำตอบได้ ถูกต้องสูงที่สุดในบรรดาคำถามทั้ง 30 ข้อ(2)กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม A ที่มีความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น สูงกว่าสามารถตอบได้คะแนนดีกว่ากลุ่มตัวอย่าง B และมีแนวโน้มสามารถนำไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมมากกว่า (3) จากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าคำที่ปัจจัยด้านความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น และปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อความเข้าใจความแตกต่างระหว่าง
ไกไรโงะและคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน มีทั้งหมด 4 คู่ได้แกคำ ว่า 「プラン」กับ「計画」คำว่า 「ライス」กับ 「ご飯」คำว่า 「ミス」กับ 「失敗」และคำว่า 「スタート」กับ 「開始」 (4) กลุ่มตัวอย่างบางส่วนที่ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างไกไรโงะกับคำ ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1.ลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของภาษาอังกฤษ 2.ลักษณะการใช้คำ ปรากฏร่วม และ 3.ลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของตารางเรียนภาษาญี่ปุ่น โดยลักษณะความเข้าใจผิดจากอิทธิพลของภาษาอังกฤษมีความโดดเด่น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. ภาพลักษณ์ของคำ ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน โดยจากผลที่ให้กลุ่มตัวอย่างอธิบาย ความแตกต่างของภาพลักษณ์ของคำทั้ง 10 คู่ พบว่า มีคำ 6 คู่คำ ได้แก่คำ ว่า 「ミス」กับ 「失敗」 คำว่า「プラン」กับ「計画」คำว่า「ダンス」กับ 「踊る」คำว่า「ショッピング」กับ「買い 物」คำว่า 「インタビュー」กับ 「面接」และคำว่า「スタート」กับ 「開始」ที่กลุ่มตัวอย่างให้ ความหมายในลกัษณะของภาพลักษณ์ความคิดเห็น หรือการกระทำ ที่ไม่ใช่สิ่งของที่สามารถจับต้อง ได้ 2.ความหมายของคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน คือกลุ่มตัวอย่างเข้าใจความหมายของคำศัพท์ ตามความหมายในภาษาเดิมเช่น คำว่า 「ライス」ในภาษาอังกฤษที่ใชกับข้าวที่หุงแล้วหรือข้าวที่ยัง ไม่ได้หุงได้แต่ในภาษาญี่ปุ่นหมายถึงข้าวที่หุงสุกแล้วเท่านั้นและ 3.ชนิดของคำที่มีความหมาย ใกล้เคียงกันซึ่งลักษณะความเข้าใจชนิดของคำ ผิดเนื่องจากมีอิทธิพลมากจากภาษาอังกฤษนั้น เป็น ผลการศึกษาที่ไม่ปรากฏในงานวิจัยใดมาก่อน (5) คำที่กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้ม เข้าใจผิดส่วนมากเป็น คำที่กลุ่มตัวอย่างอธิบายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้เป็นอากัปกิริยามากกว่าคำที่สามารถอธิบาย เป็นสิ่งที่สามารถจับต้องได้
จากการศึกษานี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างสามารถเข้าใจความแตกต่างของคำที่มีความหมาย ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ปัจจัยด้านความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นและปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นมีแนวโน้ม ส่งผลต่อความสามารถในการเลือกใช้ และความเข้าใจความแตกต่าง ระหว่างไกไรโงะและคำประเภทอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน แต่ปัจจัยด้านประสบการณ์การใช้ ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นที่แตกต่างกันจะพบมีผลต่อความเข้าใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้ทาง ภาษาญี่ปุ่นในระดับ N3 มากกว่ากลุ่มตวัอย่างที่มีความรู้ทางภาษาญี่ปุ่นระดับ N2