ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานในธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค: กรณีศึกษาบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
290 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b201166
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชนิกานต์ กระแก้ว (2017). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานในธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค: กรณีศึกษาบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5866.
Title
ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานในธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค: กรณีศึกษาบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
THE FACTORS AFFECTING ON ORGANIZATION COMMITMENT AND HAPPINESS AT WORK: A CASE STUDY OF CONSUMER GOODS DISTRIBUTION COMPANY IN BANGKOK
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุขใน
การทำงานของพนักงานบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
2) ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อม
ของงาน และคุณลักษณะขององค์การที่ศึกษาที่มีผลต่อระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุข
ในการทำงาน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของ
พนักงาน โดยใช้แบบสอบถามในการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง พนักงานบริษัทจัดจ าหน่ายสินค้าอุปโภค
บริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร จ านวน 1,565 ชุด ได้รับการตอบกลับจำนวน 366 ชุด
และนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) การทดสอบค่าที (Independent
Samples t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ค่า
สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานมีค่าเฉลี่ยความผูกพันของพนักงานต่อองค์การ 3.44และมี ค่าเฉลี่ยความสุขในการทำงาน 3.39 ซึ่งปัจจัยที่สะท้อนระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุข ในการทำงาน ได้แก่คุณลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของงาน และคุณลักษณะขององค์การที่ศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01ยกเว้น ปัจจัยเกี่ยวกับเพศในคุณลักษณะส่วนบุคคลที่สะท้อนความพึงพอใจในงาน อารมณ์ด้านบวกและ อารมณ์ด้านลบไม่แตกต่างกน รวมถึงสภาพการทำงานทางกายภาพในสภาพแวดล้อมของงานที่ไม่มี ความสัมพันธ์กบอารมณ์ด้านลบซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของความสุขในการทำงาน
นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ความสุขในการทำงานของพนักงานมีความสัมพันธ์ ทางบวกกบัความผูกพัน ต่อองค์การโดยรวมและความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อ ผลประโยชน์ขององค์การในระดับสูงมาก ส่วนความสัมพันธ์ทางบวกกับความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้า ที่จะยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ และความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะดำรงไวซึ่ง ความเป็นสมาชิกขององค์การอยู่ในระดับสูง
ดังนั้นผู้บริหารที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดกลยุทธ์เพื่อการสร้างความผูกพันต่อ องค์การและความสุขในการทำงานของพนักงาน ควรให้ความสำคัญกับการสนับสนุนปัจจัย ลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของงาน และคุณลักษณะขององค์การ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานมีความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงาน
ส่วนบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภคอื่นในเขตกรุงเทพมหานครที่มีขนาดรายได้ และจำนวนพนักงานที่ใกล้เคียงกันสามารถนำข้อมูลงานวิจัยไปพยากรณ์แนวโน้มความผูกพันต่อ องค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานเบื่องต้นของบริษัทตนเองได้
สุดท้ายสำหรับนักวิจัยในอนาคตนั้น การศึกษาครั้งต่อไปนักวิจัยควรทำการศึกษาเพิ่มเติม ในเขตพื้นที่อื่น เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและมีความชัดเจนสำหรับปัจจยัที่มีผลต่อความ ผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตามหากจะทำวิจัยในลักษณะ ของกรณีศึกษา นักวิจัยควรเป็นพนักงานขององค์การนั้น ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเก็บข้อมูล และลดระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
นอกจากนี้ควรเพิ่มตัวแปรบางปัจจัยที่อาจมีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขใน การทำงานในอนาคต เช่น โอกาสในการย้ายไปทำงานในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากในอนาคตอัน ใกล้มีบริษัทมีแนวโน้มที่จะขยายตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งเป็นการปรับตัวทางธุรกิจขององค์กร ตามสถานการณ์การเมือง เศรษฐกิจและสังคมที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานมีค่าเฉลี่ยความผูกพันของพนักงานต่อองค์การ 3.44และมี ค่าเฉลี่ยความสุขในการทำงาน 3.39 ซึ่งปัจจัยที่สะท้อนระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุข ในการทำงาน ได้แก่คุณลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของงาน และคุณลักษณะขององค์การที่ศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01ยกเว้น ปัจจัยเกี่ยวกับเพศในคุณลักษณะส่วนบุคคลที่สะท้อนความพึงพอใจในงาน อารมณ์ด้านบวกและ อารมณ์ด้านลบไม่แตกต่างกน รวมถึงสภาพการทำงานทางกายภาพในสภาพแวดล้อมของงานที่ไม่มี ความสัมพันธ์กบอารมณ์ด้านลบซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของความสุขในการทำงาน
นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ความสุขในการทำงานของพนักงานมีความสัมพันธ์ ทางบวกกบัความผูกพัน ต่อองค์การโดยรวมและความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อ ผลประโยชน์ขององค์การในระดับสูงมาก ส่วนความสัมพันธ์ทางบวกกับความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้า ที่จะยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ และความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะดำรงไวซึ่ง ความเป็นสมาชิกขององค์การอยู่ในระดับสูง
ดังนั้นผู้บริหารที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดกลยุทธ์เพื่อการสร้างความผูกพันต่อ องค์การและความสุขในการทำงานของพนักงาน ควรให้ความสำคัญกับการสนับสนุนปัจจัย ลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของงาน และคุณลักษณะขององค์การ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานมีความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงาน
ส่วนบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภคอื่นในเขตกรุงเทพมหานครที่มีขนาดรายได้ และจำนวนพนักงานที่ใกล้เคียงกันสามารถนำข้อมูลงานวิจัยไปพยากรณ์แนวโน้มความผูกพันต่อ องค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานเบื่องต้นของบริษัทตนเองได้
สุดท้ายสำหรับนักวิจัยในอนาคตนั้น การศึกษาครั้งต่อไปนักวิจัยควรทำการศึกษาเพิ่มเติม ในเขตพื้นที่อื่น เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและมีความชัดเจนสำหรับปัจจยัที่มีผลต่อความ ผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตามหากจะทำวิจัยในลักษณะ ของกรณีศึกษา นักวิจัยควรเป็นพนักงานขององค์การนั้น ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเก็บข้อมูล และลดระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
นอกจากนี้ควรเพิ่มตัวแปรบางปัจจัยที่อาจมีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขใน การทำงานในอนาคต เช่น โอกาสในการย้ายไปทำงานในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากในอนาคตอัน ใกล้มีบริษัทมีแนวโน้มที่จะขยายตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งเป็นการปรับตัวทางธุรกิจขององค์กร ตามสถานการณ์การเมือง เศรษฐกิจและสังคมที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง