• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ ที่พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร

by ฉันทกร แก้วเกษ

Title:

การรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ ที่พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

The predicting between perception of organizat communication, media, organizational culture communication and job performance : a study of corporate in Bangkok

Author(s):

ฉันทกร แก้วเกษ

Advisor:

พรพรรณ ประจักษ์เนตร

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2018

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2018.94

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ 2) ความสัมพันธ์และ 3) การ พยากรณ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 533 คน เก็บข้อมูลโดยใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบตามสะดวกในเดือนมีนาคม 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ชนิดมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยสหสัมพันธ์เชิงเส้น โดยการทดสอบสมมติฐานใช้ระดับความมี นัยสำคัญ .05
ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีระดับการรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อ ประชาสัมพันธ์และการรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การภาพรวมอยู่ในระดับบ่อยครั้ง และ พนักงานมีระดับการแสดงพฤติกรรมผลการปฏิบัติงานภาพรวมอยู่ในระดับสม่ำเสมอ 2) การรับรู้ รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ การรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ และการแสดงผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ 3) ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 9 ตัวแปรเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ (2) การมุ่งผลสำเร็จของงาน (3) การทำงานร่วมกันเป็นทีม (4) สื่อ กิจกรรม (5) ความสม่ำเสมอ (6) สื่อเบ็ดเตล็ด (7) การจัดองค์การสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม (8) การลด การควบคุม (9) การให้ความสำคัญแก่ภาวะผู้นำ

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561

Subject(s):

การรับรู้

Keyword(s):

พนักงานบริษัทเอกชน--กรุงเทพมหานคร

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

134 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6110
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b203206.pdf ( 3,237.95 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [178]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×