วิเคราะห์การรับรู้และการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชน ตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยม: กรณีศึกษาชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
232 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
b203179
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
แก้วบุญเกื้อ ศรีลิขิตตานนท์ (2017). วิเคราะห์การรับรู้และการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชน ตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยม: กรณีศึกษาชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6135.
Title
วิเคราะห์การรับรู้และการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชน ตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยม: กรณีศึกษาชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี
Alternative Title(s)
Analyzing perception and practice in community economy in accordance with the concepts of sufficiency economy and Boon Niyom (Merit-based) economy : a case study of Ratchathani Asoke Community, Ubon Ratchathani Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์การรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิด
เศรษฐกิจบุญนิยมของชาวอโศก พร้อมท้งัศึกษาการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชน ตามหลักคิด
เศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมที่ราชธานีอโศก นอกจากน้ียงัเสนอแนะการ
ประยุกต์ต่อธุรกิจชุมชนและต่อนโยบายสาธารณะที่มีผลต่อประชาชนท้ังสังคมไทย เป็นการวิจัย
แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ระหว่างงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงจ านวน 7คน ในการวิจัยเชิงคุณภาพ สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ
นั้นดำเนินการวิจัยโดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกชุมชนราช
ธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี ที่มีสถานะเป็นฆราวาส และไม่ใช่นักเรียน จำนวน 166คน จาก
จำนวนประชากร 284คน (สำรวจล่าสุด ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2559)
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง อายุมากที่สุดอยู่ในช่วง 56ถึง65 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาศัยอยู่ในชุมชนราชธานีอโศก เป็นสมาชิกชุมชนราช ธานีอโศก 1ถึง 5 ปี สมาชิกส่วนใหญ่ไม่ได้รับค่าตอบแทน จึงไม่มีเงินเหลือเพื่อเก็บออม ถึงแม้ว่า สมาชิกส่วนใหญ่จะไม่ได้รับค่าตอบแทน แต่ได้รับผลตอบแทนในรูปแบบอื่น ๆ เช่น ที่พักอาศัย อาหาร ค่ารักษาพยาบาล ทุนการศึกษาในระดับปริญญา และสมาชิกส่วนใหญ่ไมม่ ีหน้ีสินเลยจากการ วิจัยพบว่า
1) สำหรับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมนั้น ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมากที่สุด และ เห็นว่าคนไทย โดยทั่วไปยังมีความเข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับน้อยอยู่นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมในระดับมากที่สุด สอดคล้อง
กับผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่า ชาวราชธานีอโศกมีการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิด เศรษฐกิจบุญนิยมในระดับมากโดยท้ัง 2 หลักคิดมีความสอดคล้องกันที่เป้าหมาย แนวคิด และ หลักการปฏิบัติ 2) ส่วนด้านการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชนพบว่า สมาชิกราชธานีอโศกมีการปฏิบัติตน ในเศรษฐกิจชุมชนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจบุญนิยมซ่ึงยึดมนั่ ในศีลธรรมตาม แนวทางพุทธศาสนาในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่า ชาวราชธานีอโศก มีการปฏิบัติตนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมอย่างชัดเจน
3) ในส่วนของความคิดเห็นต่อรัฐบาลนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้สึกว่ารัฐบาลปัจจุบันได้มีการน าหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ในการนำนโยบายไปปฏิบัติน้อยมาก แม้จะกล่าวถึงหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง ต่อเนื่องแต่รัฐบาลก็ไม่ได้ให้ความสำคัญกับหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง ซึ่งมีสาเหตุหลาย ประการ เช่น ขาดความเข้าใจในหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้ ความเชื่อที่ว่ามีหลักคิดอื่นที่ สามารถประยุกต์ใช้กับสังคมไทยได้ดีกว่าหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุ ว่า หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเป็นหลักในการพัฒนาประเทศได้อย่างแน่นอน โดยหลักคิดน้ี ยึดแนวทางการบริหารแบบคนจนที่สามารถบริหารภายใต้ความขาดแคลน ซึ่งสอดคล้องกับบริบท ของประเทศไทย ด้วยเป้าหมายการทำให้คนอยู่ดีมีสุขและลดปัญหาความเหลื่อมล้า และมุ่งพัฒนา คนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคร้ังน้ีสา หรับการประยุกต์หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงต่อธุรกิจ ชุมชนและต่อนโยบายสาธารณะดังน้ีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องตระหนักและเร่งศึกษาเกี่ยวกับการ นำหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรม โดยสามารถอาศัย ตัวแบบของชุมชนราชธานีอโศกที่ใช้หลักคิดบุญนิยมซึ่งสอดคล้องกับหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงมา ดำเนินชีวิตจนสามารถพึ่งพาตนเองได้อีกทั้งชุมชนราชธานีอโศกยังเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีการปฏิบัติ จริงผู้สนใจสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้ทดลองปฏิบัติได้ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นชุมชนที่ยึดหลักพุทธ เศรษฐศาสตร์ที่รัฐบาลควรให้การส่งเสริม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจชุมชนโดยเฉพาะ เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งด้านธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อมและด้านคุณธรรมจริยธรรม
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง อายุมากที่สุดอยู่ในช่วง 56ถึง65 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาศัยอยู่ในชุมชนราชธานีอโศก เป็นสมาชิกชุมชนราช ธานีอโศก 1ถึง 5 ปี สมาชิกส่วนใหญ่ไม่ได้รับค่าตอบแทน จึงไม่มีเงินเหลือเพื่อเก็บออม ถึงแม้ว่า สมาชิกส่วนใหญ่จะไม่ได้รับค่าตอบแทน แต่ได้รับผลตอบแทนในรูปแบบอื่น ๆ เช่น ที่พักอาศัย อาหาร ค่ารักษาพยาบาล ทุนการศึกษาในระดับปริญญา และสมาชิกส่วนใหญ่ไมม่ ีหน้ีสินเลยจากการ วิจัยพบว่า
1) สำหรับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมนั้น ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมากที่สุด และ เห็นว่าคนไทย โดยทั่วไปยังมีความเข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับน้อยอยู่นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมในระดับมากที่สุด สอดคล้อง
กับผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่า ชาวราชธานีอโศกมีการรับรู้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิด เศรษฐกิจบุญนิยมในระดับมากโดยท้ัง 2 หลักคิดมีความสอดคล้องกันที่เป้าหมาย แนวคิด และ หลักการปฏิบัติ 2) ส่วนด้านการปฏิบัติตนในเศรษฐกิจชุมชนพบว่า สมาชิกราชธานีอโศกมีการปฏิบัติตน ในเศรษฐกิจชุมชนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจบุญนิยมซ่ึงยึดมนั่ ในศีลธรรมตาม แนวทางพุทธศาสนาในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่า ชาวราชธานีอโศก มีการปฏิบัติตนตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคิดเศรษฐกิจบุญนิยมอย่างชัดเจน
3) ในส่วนของความคิดเห็นต่อรัฐบาลนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้สึกว่ารัฐบาลปัจจุบันได้มีการน าหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ในการนำนโยบายไปปฏิบัติน้อยมาก แม้จะกล่าวถึงหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง ต่อเนื่องแต่รัฐบาลก็ไม่ได้ให้ความสำคัญกับหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง ซึ่งมีสาเหตุหลาย ประการ เช่น ขาดความเข้าใจในหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้ ความเชื่อที่ว่ามีหลักคิดอื่นที่ สามารถประยุกต์ใช้กับสังคมไทยได้ดีกว่าหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุ ว่า หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเป็นหลักในการพัฒนาประเทศได้อย่างแน่นอน โดยหลักคิดน้ี ยึดแนวทางการบริหารแบบคนจนที่สามารถบริหารภายใต้ความขาดแคลน ซึ่งสอดคล้องกับบริบท ของประเทศไทย ด้วยเป้าหมายการทำให้คนอยู่ดีมีสุขและลดปัญหาความเหลื่อมล้า และมุ่งพัฒนา คนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคร้ังน้ีสา หรับการประยุกต์หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงต่อธุรกิจ ชุมชนและต่อนโยบายสาธารณะดังน้ีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องตระหนักและเร่งศึกษาเกี่ยวกับการ นำหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรม โดยสามารถอาศัย ตัวแบบของชุมชนราชธานีอโศกที่ใช้หลักคิดบุญนิยมซึ่งสอดคล้องกับหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงมา ดำเนินชีวิตจนสามารถพึ่งพาตนเองได้อีกทั้งชุมชนราชธานีอโศกยังเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีการปฏิบัติ จริงผู้สนใจสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้ทดลองปฏิบัติได้ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นชุมชนที่ยึดหลักพุทธ เศรษฐศาสตร์ที่รัฐบาลควรให้การส่งเสริม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจชุมชนโดยเฉพาะ เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งด้านธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อมและด้านคุณธรรมจริยธรรม
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รอ.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560