การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแบบการถดถอยแบบริดจ์ โดยใช้เกณฑ์ซีพีและสถิติทดสอบซีพี
Files
Publisher
Issued Date
2018
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
107 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
b203225
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปวริศ มีบางไทร (2018). การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแบบการถดถอยแบบริดจ์ โดยใช้เกณฑ์ซีพีและสถิติทดสอบซีพี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6227.
Title
การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแบบการถดถอยแบบริดจ์ โดยใช้เกณฑ์ซีพีและสถิติทดสอบซีพี
Alternative Title(s)
A comparison of selecting ridge regression model by CP criteria and CP test statistics
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแปรอิสระในการวิเคราะห์การถดถอย
แบบริดจ์เชิงเส้นพหุคูณ ที่ใช้วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ริดจ์5 วิธี คือวิธีของโฮเอิร์ล เคนนาร์ด
วิธีของโฮเอิร์ล เคนนาร์ดและบาลด์วิน วิธีของลอว์เลสและแวง วิธีของคาลาฟและชูเกอร์ และวิธีกำลัง
สองน้อยที่สุด โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบไปข้างหน้าและการกำจัดแบบถอยหลังโดยใช้เกณฑ์ซีพีและ
สถิติทดสอบซีพีผลการจำลองข้อมูลสรุปได้ว่าเมื่อขนาดตัวอย่าง 15, 20, 30,50 และ100ร้อยละของ
จำนวนคร้ังที่คัดเลือกตัวแบบได้ถูกต้องเมื่อใช้สถิติทดสอบซีพีมีค่าสูงกวา่ การใช้เกณฑ์ซีพีในการใช้
วิธีการคัดเลือกแบบไปข้างหน้าและการกำจัดแบบถอยหลัง ซึ่งผลการศึกษาไม่พบตัวแบบ
Underspecification และ Misspecification มีเพียงตัวแบบ Overspecification ซึ่งเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง
ในการวิเคราะห์น้อยกว่าตัวแบบในสองกรณีแรก นอกจากนั้น พบว่า ทุกระดับความสัมพันธ์ของตัวแปร
อิสระระหว่าง x1 และ x2 มีการคัดเลือกตัวแบบได้ถูกต้องไม่แตกต่างกัน และวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ริดจ์ด้วยวิธีต่างๆ สามารถคัดเลือกได้ถูกต้องสูงกว่าวิธีกำลังสองน้อยที่สุด เมื่อตัวอย่างมีขนาดเล็ก และสามารถคัดเลือกตัวแบบได้ถูกต้องไม่แตกต่างกัน เมื่อตัวอย่างมีขนาดใหญ่ขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ ()--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561