พฤติกรรมการเปิดรับชม การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
80 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191167
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ณัฐวีณา ศรีหิรัญ (2015). พฤติกรรมการเปิดรับชม การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6236.
Title
พฤติกรรมการเปิดรับชม การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
The exposure behaviors uses and gratifications from nighttime television drama series of female audience in Bangkok
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับชม การใช้ประโยชน์ และความพึ่งพอใจจาก
ละตรโทรทัศน์หลังข่าวภาดค่ำของผู้หญิงในขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อ
ศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับชมละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
2) เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์และค วามพึงพอใจที่มีต่อจากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของ
ผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤดิกรรมการเปีดรับชมกับ
การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจที่มีต่อละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขต
กรุงเทพมหานคร
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำ รวจ (Survey Research) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้
แบบสอบถาม (Questionnaires) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้หญิงในเขตรุงเทพมหานคร
จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descipltive Statistcs) แสดงดำร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ความถี่ (Frequency) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) ส่วนการทดสอบสมมดิฐานใช้สถิติ
(t-test One-way ANOVA) สัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง
21-30 ปีมากที่สุด ร้อยละ 40.5 มี
การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 51.3 มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 35.0 มีรายได้
ต่อเดือนระหว่าง 10,00 1-20,000 บาท ร้อยละ 31.05 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 70.8 เปิดรับชม
ละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำทุกวัน ร้อยละ 30.3 ส่วนใหญ่ดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำเพื่อ
ความสนุกสนาน บันเทิง ร้อยละ 535 ชอบดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภากค่ำประเภทละครตลก
เบาสมอง ร้อยละ51.0 ส่วนใหญ่ดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำทางสถานีโทรทัศน์ช่อ3 ร้อยละ
52.0 เหตุผลที่ดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคต่ำทางสถานีโทรทัศน์ได้แก่ การดำเนินเรื่องที่สนุแลก
ร้อยละ 33.0 ซึ่งพฤติกรรมในการดูละครโทรทัศน์ในแต่ละครั้งจะ ดูและเปลี่ยนไปดูรายการอื่นๆ
เมื่อละครน่าเบื่อไม่สนุก ร้อยละ 36.5 มีการใช้ประโยชน์จากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำใน
Ploy
Thanaporn Ploy
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.48 และมีความพึ่งพอใจที่มีต่อละครโทรทัศน์หลังข่าวภาค
ค่ำในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.63
ผลการทดสอบสมมติฐานวิจัยพบว่า อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และ
สถานภาพ มีความพึงพอใจต่อละครโทรทัศน์หลังข่าวภา คค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานค
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความถี่ในการเปิดรั บชมละครโทรทัศน์หลังข่าวภ าคค่ำ
ประเภทเนื้อหาของละครโทรทัศน์ที่ชอบดูมากที่สุด และเหตุผลที่ดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำ
มีความพึงพอใจต่อละครโทรทัศน์หลังข่าวกาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานครอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และการใช้ประโยชน์จากละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำ ด้าน
ความต้องสารสนเทศ ความต้องการการสร้างเอกลักษณ์ให้แก่บุคคล ความต้องการรวมตัวและ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และความต้องการความบันเทิง มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อละคร
โทรทัศน์หลังข่าวภาคต่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
0.01 และการใช้ประโยชน์ จากละคร์โทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำ ด้านความต้องการการสร้าง
เอกลักษณ์ให้แก่บุคคล และความต้องการความบันเทิงมีผลต่อความพึงพอใจที่มีต่อละคร
โทรทัศน์หลังข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานครได้ดีที่สุดและมีผลทางบวกเรียง
ตามลำดับความสำคัญ โดยตัวแปรอิสระทั้งหมดอธิบายควา มพึงพอใจที่มีต่อละครโทรทัศน์หลัง
ข่าวภาคค่ำของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานครประมาณร้อยละ 59.3
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558