การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
315 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191183
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ดวงรัชนี เต็งสกุล (2015). การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6249.
Title
การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Alternative Title(s)
Strategic Environment Assessment (SEA) of Special Economic Zone (ZEZ) development strategy, Chiang Saen District, Chiang Rai Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมิบผลกระทบของแผบยุทธศาสตร์การพัฒณา เขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราช โดยใช้หลักการประเมินสิ่งแวคล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) ประกอบการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเสนอแนวทางป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบที่คาคว่จะเกิดขึ้น โดยการเปรียบเทียบทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์จาก 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือกที่ 1 ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษไปดำเนินการในพื้นที่ ทางเลือกที่ 2 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 ยุทธศาสตร์มาดำเนินการ และทางเลือกที่ 3 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาคำเนินการทั้งหมด วิธีการศึกษาที่ใช้ ได้แก่ 1) ประเมินลำดับความสำคัญของประเด็นและตัวชี้วัดโดยผู้เชี่ยวชาญด้วยเทคนิคการตัดสินใจตามกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process: AHP) 2) การสัมภายณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) การสังเกตการณ์สภาพพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เพื่อนำข้อมูลมาพิจารณาประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์จากทั้ง 3 ทางเลือก ผลการวิจัข พบว่า ผลรวมระดับผลกระทบ
จากทางเลือกที่มีค่าเป็นลบเท่ากับ -0.72 ส่วนทางเลือกที่ 2 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 0.02 และทางเลือกที่3 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 1.06 นั่นคือ การดำเนินการตามทางเลือกที่ 3 หรือดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของพื้นที่อำเภอเชียงแสนทั้งหมด (ร ยุทธศาสตร์ 1I กลยุทธ์ รวม 33 โครงการ) จะส่งผลดีต่อพื้นที่อำเภอเชียงแสนมากกว่าทางเลือกที่ 1 และ ทางเลือกที่ 2 เนื่องจากทางเลือกที่ 3 จะสร้างโอกาสการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ถึงแม้จะมีผลกระทบเชิงลบบางประเด็นในช่วงเริ่มต้นการพัฒนา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคาดการณ์ว่าการพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลค้านบวกต่อค้านอาชีพและคุณภาพชีวิตคุณภาพชีวิตของประชาชนมากที่สุดและส่งผลด้านลบต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิสภาพอากาศและคุณภาพอากาศมากที่สุด สำหรับแนวทางในการปรับตัวเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษอำเภอเชียงแสน คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบเชิงลบพร้อมทั้งส่งเสริมผลกระทบเชิงบวกที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการสร้างจุดเด่นของชุมชนและควรเน้นกระบานการมีส่วนร่วมของประชาชนประชาสัมพันธ์และเผขแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการในพื้นที่ได้รับทราบและมีความเข้าใจต่อการพัฒนามากขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558