• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิตข้าวโพด กรณีศึกษาพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดลพบุรี

by สุนิสา จันสารี

Title:

ผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิตข้าวโพด กรณีศึกษาพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดลพบุรี

Other title(s):

The effect of tillage on soil carbon stock and corn yield : a case study of agricultural area in Lopburi Province

Author(s):

สุนิสา จันสารี

Advisor:

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2017.140

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิต ข้าวโพด ในพื้นที่ที่มีการทำเกษตรกรรม จังหวัดลพบุรีวางแผนการทดลองแบบ 2 x 4 Factorial Arrangement in CRD ที่ระดับความลึก 0 – 15.0 และ 15.0 – 30.0 ซม. โดยใช้รูปแบบการไถพรวนที่ แตกต่างกัน 4 รูปแบบ คือ 1) การไม่ไถพรวนดิน (T1 ) 2) การไถแปรคร้ังเดียว (ไถพลิกดินด้วยผาลสามแล้วพรวนดินผาลเจ็ด; T2 ) 3) การพรวนซ้ำ 1 คร้ัง (ไถพลิกดินดว้ยผาลสามแล้วพรวนดินผาลเจ็ดแล้วใช้กำลังคนพรวนซ้ำหนึ่งคร้ัง; T3 ) 4) การพรวนซ้ำ 2 คร้ัง (ไถพลิกดินด้วยผาลสามแล้ว พรวนดินผาลเจ็ด แล้วใช้กำลังคนพรวนซ้ำ สองคร้ัง; T4 ) ผลการศึกษา พบว่า ค่าความหนาแน่นรวมและปริมาณคาร์บอนสะสมในดินภายใต้ รูปแบบไม่มีการไถพรวนที่ระดับความลึก15.0 – 30.0 ซม. มีค่าสูงสุด เท่ากับ 1.09 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตรและ 3.86 ตัน /ไร่ ตามลำดับส่วนอินทรียวัตถุและปริมาณอินทรียค์าร์บอนในดินภายใต้ รูปแบบไม่มีการไถพรวนที่ระดับความลึก 0 – 15.0 ซม. มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 1.48 และร้อยละ 0.860 ตามลำดับ สำหรับผลการศึกษารูปแบบการไถพรวนที่มีต่อพืช พบว่า มวลชีวภาพและ ปริมาณคาร์บอนในพืชภายใต้รุปแบบการไถแปรคร้ังเดียว(T2 ) มีค่าสูงสุดเท่ากับ ร้อยละ 29.2 และ 0.530 ตัน /ไร่ ตามลำดับ ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างความลึกของชั้นดินและรูปแบบ การไถพรวนส่งผลต่อมวลชีวภาพของพืชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)โดยรูปแบบการไถ แปรคร้ังเดียวเป็นวิธีการที่ดีที่สุด

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

การไถพรวน
ข้าวโพด

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

151 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6299
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b199285.pdf ( 4,402.06 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [91]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×