ข้อบกพร่องบางประการของร่างพระราชบัญญัติบริษัทจำกัดคนเดียว พ.ศ. ...
Publisher
Issued Date
2019
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
193 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b210966
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธงชัย อินทสงค์ (2019). ข้อบกพร่องบางประการของร่างพระราชบัญญัติบริษัทจำกัดคนเดียว พ.ศ. .... Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6330.
Title
ข้อบกพร่องบางประการของร่างพระราชบัญญัติบริษัทจำกัดคนเดียว พ.ศ. ...
Alternative Title(s)
Certain defects of the draft law on Single-member Company Act
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ความมุ่งหมายในการจัดทําร่างพระราชบัญญัติบริษัทจํากัดคนเดียว พ.ศ. .... เพื่อ วัตถุประสงค์ในการจํากัดความรับผิดของเจ้าของทุนให้รับผิดตามที่เจ้าของทุนได้ลงทุนไว้ในบริษัท เท่านั้น อันเป็นการจูงใจให้เกิดการลงทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุน ธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้นให้สามารถอยู่รอดและได้รับสิทธิประโยชน์ทางการเงินรวมถึงหลักประกัน ที่รัฐคอย กํากับและส่งเสริมกิจการ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวยังมีข้อบกพร่องสําคัญอยู่สี่ประการด้วยกัน คือ ประการที่หนึ่ง ปัญหาข้อจํากัดในเรื่องของการเป็นเจ้าของทุนที่จํากัดให้บุคคลคนหนึ่งจัดตั้งบริษัท จํากัดโดยบุคคลคนเดียวได้หนึ่งบริษัทเท่านั้น ประการที่สอง เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าตามร่าง พระราชบัญญัติดังกล่าวมีการกําหนดให้เจ้าของทุนต้องชําระทุนจดทะเบียนไว้ซึ่งบริษัทจํากัดคนเดียว ไม่ควรจะมีการกําหนดทุนจดทะเบียนเอาไว้เนื่องด้วยบริษัทจํากัดคนเดียวเป็นผู้ประกอบการหรือ เจ้าของทุนส่วนใหญ่เป็นธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้น (Start-Up) และเป็นธุรกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อม (SMEs) หากรัฐต้องการส่งเสริมให้การเกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจก็ไม่ควรมีการกําหนดทุน จดทะเบียน ประการที่สาม การจดทะเบียนบริษัทจํากัดคนเดียวเจ้าของทุนจะต้องเป็นบุคคลธรรมดา ประการการที่สี่ พบว่าการบริษัทจํากัดคนเดียวสามารถโอนหรือขายกิจการได้ ซึ่งพบว่าการโอนหรือ ขายกิจการไม่ควรกําหนดไว้ในพระราชบัญญัติการจัดตั้งบริษัทจํากัดคนเดียว เนื่องจากบริษัทจํากัดคน เดียวนั้นเป็นธุรกิจขนาดเล็กและสมควรเป็นบริษัทปิดมากกว่า ที่จะสามารถโอนหรือเปลี่ยนมือกันได้ ซึ่งการโอนหรือเปลี่ยนมือนั้น อาจทําให้เสถียรภาพของบริษัทจํากัดคนเดียวลดน้อยลง ดังนั้น บริษัท จํากัดคนเดียวควรกําหนดบทบัญญัติไว้ในเรื่องของการห้ามโอนหรือขายกิจการให้แก่บุคคลภายนอก เว้นแต่จะมีการตกทอดทางมรดกแทน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562