ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต
Publisher
Issued Date
2013
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
239 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b180771
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กรรณิการ์ รอดมา (2013). ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/730.
Title
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต
Alternative Title(s)
Legal problems on the enforcement of child pornography on the internet
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกเต็ก
บนอินเทอร์เน็ต โดยศึกษาวิเคราะห์แนงทางการบังคับใช้กฎหมายของต่างประเทศและกฎหมาย
ประเทศไทยตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศ และมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาตังกล่าว
เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสื่อลามกเต็กบนอินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับประเทศไทย
จากการศึกษาพบว่พัฒนาการทางเทคโนโลยีในปัจจุบันก่อให้เกิดปัญหาสื่อลามกเด็กบน
อินเทอร์เน็ดเพิ่มมากขึ้น เพราะสามารถใช้สื่อตังกล่าวในการเผยแพร่ และเข้าถึงเนื้อหาลา ามกเหล่านี้
ไต้โดยง่าย ทำให้จำนวนของสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีหลากหลาย
รูปแบบ ะปัญหาตังกล่าวยังส่งผลก กระทบต่อเด็กและสังคมในหลายด้าน ทั้งนี้เนื่องจากในการบังคับ
ใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกเต็กของประ ระเทศไทยยังไม่มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสื่อลามก
เคีกบนอินเทอร์เน็ตโตยตรง แต่มึกฎหมายที่ควบคุมสื่อลา มกทั่วไปซึ่งไม่ได้กำหนด เกณฑ์อายุเด็ก
นิยามสื่อลามกเต็ก ตลอดจนฐานความผิดและอัตราโทษ นอกจากนั้นยังไม่มีการส่งเสริมให้ใช้
มาตรการอื่นนอกจากมาตรการทางกฎหมายอย่างชัดเจน ทำให้การควบคุมเกิปัญหาและอุปสรรคใน
การแก้ปัญหาดังกล่าว
แนวทางในการแก้ปัญหาสื่อลามกเต็กบนอินเทอร์เน็ตมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศไทย
ต้องมีบทบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ตไว้เป็นการเฉพาะโดยมีเกณฑ์อายุ
เด็กที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายที่ชัดเจน มีนิยามของสื่อลามกเต็ก รวมถึงฐานความผิดที่
เกี่ยวกับสื่อลามกเด็กอย่างครอบคลุมและมีอัตราโทษที่เหมาะสม ตลอดจนการเยียวยาแก่เต็ก
ผู้เสียหาย และควรส่งเสริมมาตรการอื่นนอกจากมาตรการทางกฎหมาย เช่น กรกลั่นกรองเนื้อหาที่
ไม่เหมาะสม การปิดกั้น การฝ้ระวัง หรือการรู้เท่าทันสื่อ นอกจากนั้นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุก
ภาคส่วน รวมถึงความร่วมมีอระหว่างประเทศ เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556