การจัดการความหลากหลายในองค์กร : ตัวแบบทางด้านทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศ
Publisher
Issued Date
2009
Issued Date (B.E.)
2552
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
263 แผ่น : ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
เจษฎา นกน้อย (2009). การจัดการความหลากหลายในองค์กร : ตัวแบบทางด้านทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/938.
Title
การจัดการความหลากหลายในองค์กร : ตัวแบบทางด้านทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศ
Alternative Title(s)
Organizational diversity management : HR model for equality of employees with different sexual orientation
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การยอมรับผู้มีอัตลักษณ์ หลากหลายทางเพศในสถานที่ทํางานในประเด็นทางด้านการบริหารทรัพยากรมนษย์ 2) ศึกษาปัจจยและบริบทที่มีผลตอการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณ์ หลากหลายทางเพศภายในองค์กร 3) ศึกษาผลกระทบทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จากการที่ผู้เกี่ยวของไม่ให้ความเป็นธรรมต่อผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศในองค์กร และ 4) ศึกษานโยบายขององค์กรเกี่ยวกับการจัดการความหลากหลายทางเพศของทรัพยากรมนุษย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้มอัตลักษณ์ หลากหลายทางเพศที่ทํางานในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนใช้เทคนิคการเล่าเรื่องโดยให้ กลุ่มตัวอย่างเล่าอัตชีวประวัติและทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีแนวคำถามไว้ล่วงหน้า กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 43 รายรวมทั้งทำการสัมภาษณกลุ่มผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดได้รับการปฏิบัติในประเด็นทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์อย่างเท่าเทียมและเป็น ธรรมทั้งนี้เพราะผู้บังคับบัญชาจะพิจารณาจากผลงานและความรู้ความสามารถเป็นสำคัญ สําหรบปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณหลากหลายทางเพศภายในองค์กรประกอบด้วย 1) ลักษณะส่วนบุคคลได้แก่เพศ อาชีพการแสดงออกและการรับรู้ของบุคคลอันว่าเป็นผู้มีอัตลักษณหลากหลายทางเพศ 2) การจัดการความหลากหลายในองค์กรได้แก่คณะกรรมการบริหารองค์กรมีความหลากหลาย การฝึกอบรมและให้ความรุ้เกี่ยวกับความหลากหลายของทรัพยากรมนุษย์การมีที่ปรึกษากลุ่ม ที่ไม่เป็นทางการให้คําแนะนําและนโยบายการไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มใดๆ 3) บริบทอื่นได้แก่ บรรทดฐานของสังคมและกฎหมายสําหรับผลกระทบทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์จากการที่ผู้เกี่ยวของไม่ให้ความเป็นธรรมต่อผู้มีอัตลกษณหลากหลายทางเพศในองคกรนั้น เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่รู้สึกว่าตนเองถูกเลือกปฏิบัติงานกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจึงมีขวัญกำลงใจในการทำงานดีความรักและความผูกพันต่อองค์กรสามารถทำงานรวมกับ ผู้บังคับบัญชาเพื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคบบัญชาได้ดีและมีความสุขในการทำงานสําหรับ นโยบายเกี่ยวกับการจัดการความหลากหลายทางเพศของทรัพยากรมนษย์ในองค์กรนั้นกลุ่ม ตัวอย่างประมาณ 1 ใน 3 องค์กรที่ทํางานอยู่มีคณะกรรมการบริหารองค์กรที่มีความหลากหลาย ขณะที่ไม่มีกลุ่มตัวอย่างแม้แต่เพียงรายเดียวที่องค์กรที่ทํางานอยู่มีการจัดฝึกอบรมและให้ ความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรเช่นเดียวกับประเด็นเรื่องของ การกำหนดนโยบายการไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มใดๆในสถานที่ทํางานและการแยกการจัดการ ความหลากหลายทางเพศของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรออกจากการขจัดความไม่เท่าเทียม ขณะที่กลุ่มตัวอย่างประมาณ 1 ใน 4 องค์กรที่ทํางานอยู่มีกลุ่มที่ไม่เป็นทางการค่อยให้คำาแนะนำในประเด็นทางด้านความหลากหลายทางเพศของทรัพยากรมนษย์ในองค์กร ข้อเสนอแนะเพื่อความเท่าเทียมของผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศ 1) หน่วยงานที่เกี่ยวของจะต้องสร้างความตระหนักในความแตกต่างระหว่างบุคคลให้เกิดขึ้นแก่ ประชาชน 2) รัฐบาลจะต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม 3) ควรมีการออกกฎหมายที่เอื้อให้กลุ่มผู้มีอัตลกษณ์หลากหลายทางเพศได้ใช้สิทธของตนอย่างเต็มที่ 4) ผู้เกี่ยวข้องควรทํา ความเข้าใจยอมรับและเล็งเห็นความสำคญของผู้มีอัตลักษณหลากหลายทางเพศ 5) หน่วยงานที่รับผิดชอบทางการศึกษาควรผลักดันให้มีการเรียนรู้และทำความเข้าใจเรื่องอัตลักษณทางเพศอย่างเป็นทางการ 6) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้เรื่องบทบาททางเพศ แก่ผู้มีอัตลกษณหลากหลายทางเพศเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง 7) ผู้มีอัตลกษณหลากหลายทางเพศควรมั่งมั่นใจและพยายามทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มที่ 8) ควรเปิดโอกาสให้ผู้มีอัตลักษณหลากหลายทางเพศได้แข่งขันกับชายหญิงทั่วไปอย่างเท่าเทียมเพื่อ ก้าวไปสู่ตําแหน่งคณะกรรมการบริหารองค์กร 9) ผู้บริหารองค์กรควรกำหนดนโยบายที่ชัดเจน ระบุถึงการมีอยู่ของผู้มีอัตลกษณหลากหลายทางเพศรวมถึงการให้ความคุ้มครองผู้มีอัต ลักษณหลากหลายทางเพศในประเด็นต่างๆ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รป.ด.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009