รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชน

dc.contributor.advisorวิสาขา ภู่จินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorศราพร ไกรยะปักษ์th
dc.date.accessioned2014-05-05T09:27:10Z
dc.date.available2014-05-05T09:27:10Z
dc.date.issued2010th
dc.date.issuedBE2553th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009th
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการพลังงานชุมชนในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการจัดการพลังงานในชุมชนของประทศไทย 3) เพื่อเสนอ รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชนในประเทศไทยเพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการพลังงานภายในชุมชนของตนเองและสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านพลังงาน การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ควบคู่ไปกับเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ์ในชุมชนที่มีการใชพลังงานทางเลือก (Alternative Energy) พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) หรืออุปกรณ์ประหยัดพลังงานร่วมกับพลังงานสิ้นเปลือง จํานวน 91 คนใน 5 ชุมชน และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพลังงานชุมชน ผู้นําชุมชนที่เกี่ยวข้องจำนวน 11 คน ผลการศึกษาพบว่าในด้านการนําพลังงานหมุนเวียน พลังงานทางเลือกและอุปกรณ์ พลังงานมาใช้ในชุมชน บางชุมชนเห็นว่ายังมีปริมาณพลังงานไม่เพียงพอเพื่อใช้บริโภคประจำวัน ด้านค่าใช้จ่ายด้านพลังงานกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าการจัดการพลังงานในชุมชนไม่มีผลต่อค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน สาเหตุเพราะ ไม่มีการใช้หรือมีการใช้ประโยชน์จากพลังงานหรือ อุปกรณ์เหล่านั้นเนื่องจากว่าอุปกรณ์ชํารุดใช้งานไม่ได้ปัญหาประชาชนในชุมชนไม่สามารถ จัดการบำรุงรักษาอุปกรณ์เองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนตื่นตัวกับการจัดการพลังงานในช่วงแรกของโครงการเท่านั้น กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพลังงานอยู่ในระดับสูงและมีความ ตระหนักเรื่องพลังงานอยู่ในระดับสูงเช่นเดียวกัน การมีส่วนร่วมเรื่องการจัดการพลังงานในชุมชนอยู่ในระดับปานกลางแต่ส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในลักษณะการรับฟังและสนับสนุนโครงการรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชนนั้น ประชาชนในชุมชนต้องมีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในเรื่องพลังงาน ซึ่งจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการพลังงานชุมชน และการวางแผนพลงงานชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม และผลที่ได้จากการวางแผนพลังงานคือการลดค่าใช้จ่าย ในด้านพลังงานและการมีพลังงานพียงพอต่อความต้องการพื้นฐานของคนในชุมชน นอกจากนั้น ยังต้องมีการศึกษาปรับปรุงเทคโนโลยีและกระบวนการจัดการที่เหมาะสม และการติดตามประเมินผล อย่างต่อเนื่องอีกด้วย อันจะนำมาซึ่งการจัดการพลังงานชุมชนอย่างยั่งยืนได้นอกจากน้ันยังต้องสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นๆได้ด้วย การจัดการพลังงานในชุมชนหากต้องการให้ได้ประสิทธิผลที่ดีต้องมีการนําเอาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาบูรณาการจัดการด้วยและต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้พลังงานอีกด้วยth
dc.format.extent12, 164 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2010.104
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2073th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectพลังงานในชุมชนth
dc.subject.lccHD 9502 .T5 ศ17 2009th
dc.subject.otherพลังงาน -- การจัดการth
dc.subject.otherการใช้พลังงานth
dc.subject.otherพลังงาน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth
dc.titleรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชนth
dc.title.alternativeAppropriate pattern for community energy managementth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b164205.pdf
Size:
14.23 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections