ผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิตข้าวโพด กรณีศึกษาพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดลพบุรี
Files
Publisher
Issued Date
2017
Issued Date (B.E.)
2560
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
151 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b199285
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สุนิสา จันสารี (2017). ผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิตข้าวโพด กรณีศึกษาพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดลพบุรี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6299.
Title
ผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิตข้าวโพด กรณีศึกษาพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดลพบุรี
Alternative Title(s)
The effect of tillage on soil carbon stock and corn yield : a case study of agricultural area in Lopburi Province
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาผลของการไถพรวนที่มีต่อปริมาณคาร์บอนที่เก็บสะสมในดินและผลผลิต ข้าวโพด ในพื้นที่ที่มีการทำเกษตรกรรม จังหวัดลพบุรีวางแผนการทดลองแบบ 2 x 4 Factorial Arrangement in CRD ที่ระดับความลึก 0 – 15.0 และ 15.0 – 30.0 ซม. โดยใช้รูปแบบการไถพรวนที่ แตกต่างกัน 4 รูปแบบ คือ 1) การไม่ไถพรวนดิน (T1 ) 2) การไถแปรคร้ังเดียว (ไถพลิกดินด้วยผาลสามแล้วพรวนดินผาลเจ็ด; T2 ) 3) การพรวนซ้ำ 1 คร้ัง (ไถพลิกดินดว้ยผาลสามแล้วพรวนดินผาลเจ็ดแล้วใช้กำลังคนพรวนซ้ำหนึ่งคร้ัง; T3 ) 4) การพรวนซ้ำ 2 คร้ัง (ไถพลิกดินด้วยผาลสามแล้ว พรวนดินผาลเจ็ด แล้วใช้กำลังคนพรวนซ้ำ สองคร้ัง; T4 ) ผลการศึกษา พบว่า ค่าความหนาแน่นรวมและปริมาณคาร์บอนสะสมในดินภายใต้ รูปแบบไม่มีการไถพรวนที่ระดับความลึก15.0 – 30.0 ซม. มีค่าสูงสุด เท่ากับ 1.09 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตรและ 3.86 ตัน /ไร่ ตามลำดับส่วนอินทรียวัตถุและปริมาณอินทรียค์าร์บอนในดินภายใต้ รูปแบบไม่มีการไถพรวนที่ระดับความลึก 0 – 15.0 ซม. มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 1.48 และร้อยละ 0.860 ตามลำดับ สำหรับผลการศึกษารูปแบบการไถพรวนที่มีต่อพืช พบว่า มวลชีวภาพและ ปริมาณคาร์บอนในพืชภายใต้รุปแบบการไถแปรคร้ังเดียว(T2 ) มีค่าสูงสุดเท่ากับ ร้อยละ 29.2 และ 0.530 ตัน /ไร่ ตามลำดับ ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างความลึกของชั้นดินและรูปแบบ การไถพรวนส่งผลต่อมวลชีวภาพของพืชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)โดยรูปแบบการไถ แปรคร้ังเดียวเป็นวิธีการที่ดีที่สุด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560