กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : กรณีศึกษาสำนักงานยุติธรรมจังหวัดมหาสารคาม

dc.contributor.advisorสุวิชา เป้าอารีย์th
dc.contributor.authorเรียวรุ้ง บุญเกิดth
dc.date.accessioned2016-06-29T06:23:47Z
dc.date.available2016-06-29T06:23:47Z
dc.date.issued2014th
dc.date.issuedBE2557th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557th
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์โดย สานักงานยุติธรรมจังหวัดมหาสารคาม 2) ศึกษาเงื่อนไขความสาเร็จของกระบวนการไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาท และ 3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดาเนินกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ เป็นการการศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีการเก็บข้อมูลโดย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informant) 18 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้แนวทางการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ของสานักงานยุติธรรมจังหวัด มหาสารคามใช้รูปแบบการไกล่เกลี่ย โดยกระบวนการเริ่มต้นประชาชนสามารถติดต่อได้ทั้ง ช่องทางจากสานักงานยุติธรรมจังหวัดมหาสารคามและช่องทางจากเครือข่าย โดยมีขั้นตอนในการ ดา เนินกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่สาคัญ คือ 1) การเข้าสู่กระบวนการ 2) การจัดเวทีไกล่ เกลี่ย 3) การประสานส่งต่อกรณีพิพาท เงื่อนไขความสาเร็จในการไกล่เกลี่ยที่สาคัญมี 5 เงื่อนไขดังนี้ คือ 1) ความสมัครใจของ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายที่ทา ให้กระบวนการไกล่เกลี่ยเริ่มต้นขึ้นได้ 2) ต้องมีผู้ไกล่เกลี่ยที่มีความเป็นกลาง และมีลักษณะของผู้ไกล่เกลี่ยที่ดี 3) การไกล่เกลี่ยที่เกิดขึ้นในบริบทชุมชนหรือพื้นที่ที่มีวัฒนธรรม ประเพณีในการเคารพผู้ใหญ่ 4) การได้รับการสนับสนุนทั้งความรู้ความร่ วมมือจากคณะ กรรมการบริหารสานักงานยุติธรรมจังหวัด 5) การเลือกเวทีไกล่เกลี่ยที่มีความเป็นธรรมชาติและ คู่กรณีคุ้นเคย จะส่งผลให้การไกล่เกลี่ยสามารถดา เนินไปอย่างราบรื่นและสา เร็จได้ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ มี 9 ด้าน ได้แก่ 1) ปัญหาด้านสถานที่ตั้งของสานักงาน ยุติธรรมจังหวัดยังคงอาศัยในหน่วยงานอื่น จึงควรมีสถานที่เป็นเอกเทศน์และจัดพื้นที่ให้เป็นสัดส่วนเพื่ออานวยความสะดวกในการบริการประชาชน 2) ปัญหาด้านการดาเนินงานของ คณะกรรมการบริหารสานักงานยุติธรรมจังหวัดมหาสารคามที่ไม่สามารถบริหารงานได้อย่างเต็มที่ ดงั นั้นควรมีหัวหน้าของสานักงานยุติธรรมจังหวัดโดยตรงไม่ใช้รูปแบบการดึงหัวหน้าจากจาก หน่วยงานอื่นมารับผิดชอบ 3) ปัญหาด้านบุคลากรที่ขาดความรู้ความสามารถและความขัดแย้งที่เกิด ในหน่วยงาน คณะกรรมการบริหารสานักงานยุติธรรมจังหวัดต้องเป็ นตัวกลางในการช่วยสร้าง ความสัมพันธ์และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอยู่เสมอ 4) ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ที่เป็น เชิงรับมากกว่าเชิงรุก จึงควรมีการลงพื้นที่ให้ทั่วถึงเพื่อรับฟังปัญหาในชุมชนอื่นๆ 5) ปัญหาของ การเก็บสถิติการไกล่เกลี่ยที่ไม่มีเครื่องมือมาตรฐานและไม่เห็นความสาคัญของการเก็บสถิติ จึงต้อง ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมสร้างเครื่องมือและเก็บสถิติเพื่อประโยชน์ในอนาคตต่อไป 6) ปัญหาด้าน ลกั ษณะผู้ไกล่เกลี่ยที่ความสัมพันธ์ทางสังคมกับคู่กรณีทา ให้เกิดการจา ยอมในการไกล่เกลี่ย ดังนั้น ต้องให้คู่กรณีมีสิทธิเลือกผู้ไกล่เกลี่ยได้เอง 7) ปัญหาด้านค่าใช้จ่ายและอุปกรณ์ในการดา เนินการทั้ง ในส่วนของเจ้าหน้าที่สานักงานยุติธรรมจังหวัดและผู้ไกล่เกลี่ย ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้ การสนับสนุนด้านงบประมาณและคาปรึกษา 8) ปัญหาด้านความร่วมมือจากหน่วยงานที่อยู่ใน กระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์และทัศนคติในแง่ลบต่อกระบวนการไกล่เกลี่ย จึงต้องมีการสร้างความเข้าใจ ตระหนักถึงข้อดีในการใช้กระบวนการไกล่เกลี่ยและตระหนักถึงการให้ความร่วมมือทุกรูปแบบ ประการสุดท้าย 9) ปัญหาจากการไม่ติดตามผลการดาเนินการไกล่เกลี่ยให้แก่ประชาชนกระทั่งต้อง เข้าสู่กระบวนการฟ้ องร้องเนื่องจากเกิดการผิดสัญญาขึ้น ดังนั้นต้องสร้างความรับผิดชอบให้แก่ เจ้าหน้าที่ทุกระดับในการช่วยเหลือประชาชนอย่างจริงจังเพื่อไม่ให้การไกล่เกลี่ยหรือกระบวนการ ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เป็นเพียงการปฏิบัติที่เกิดการสูญงบประมาณของรัฐเพิ่มขึ้นth
dc.format.extent143 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb185647th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3107th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th
dc.subject.otherกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ -- ไทย -- มหาสารคามth
dc.titleกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : กรณีศึกษาสำนักงานยุติธรรมจังหวัดมหาสารคามth
dc.title.alternativeRestorative justice : A case study of provincial justice office in Mahasarakham provinceth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b185647.pdf
Size:
3.04 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections