ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ : กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม

dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ ชมพันธุ์th
dc.contributor.authorณัฐวัฒน์ โต๊ะงามth
dc.date.accessioned2017-02-14T03:07:59Z
dc.date.available2017-02-14T03:07:59Z
dc.date.issued2014th
dc.date.issuedBE2557th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557th
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลัก คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปญหาสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุมน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งเปนพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสําคัญระหวางประเทศ หรือแรมซารไซต (Ramsar Site) 2) เพื่อวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำสําคัญระหวางประเทศ ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม และความสัมพันธของแตละปจจัย คือ แรงขับเคลื่อน แรงกดดัน สถานการณ ผลกระทบ และการตอบสนอง 3) เพื่อนําผลการศึกษาของปจจัยที่สงผลตอสิ่งแวดลอมพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงครามไปสูขอเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตามแนวทางการพัฒนาที่เหมาะสมอยางยั่งยืนตอไปการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาเฉพาะในพื้นที่ของ 4 ตําบล คือ ตําบลบางจะเกร็ง ตําบลแหลมใหญ ตําบลบางแกว ตําบลคลองโคน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ที่ประกาศเปนเขตพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสําคัญระหวางประเทศ จากการศึกษา พบวา ปจจัยเชิงลบที่เปนจุดเริ่มตนสําคัญของสภาพปญหาสิ่งแวดลอมพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด คือ ปจจัยแรงขับเคลื่อน (Drivers) ประกอบดวย 1) การเติบโตทางเศรษฐกิจบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด โดยการเพิ่มขึ้นของจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณรอบๆพื้นที่ และประมงเชิงพาณิชย 2) การคอยๆเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง 3) การเติบโตของธุรกิจทองเที่ยว 4) การสรางเขื่อนขนาดใหญ สิ่งเหลานี้เปนตนเหตุใหเกิดปจจัยแรงกดดัน (Pressures) ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด ไดแก 1) การบุกรุกปาชายเลนเพื่อเลี้ยงกุงกุลาดําจนพื้นที่ปาชายเลนลดลง พรอมกับความเสื่อมโทรมลง 2) เกิดมลภาวะ คุณภาพน้ำอยูในเกณฑ์ต่ำ คาเฉลี่ยเกินมาตรฐาน ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการนํามาใชอุปโภค - บริโภค มีปญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอย การทิ้งขยะลงแมน้ำสงผลตอสัตวน้ำ 3) การใชประโยชนจากพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดเกินกวาความสมดุลตามธรรมชาติและศักยภาพของพื้นที่ แรงกดดันที่เกิดขึ้นไดนําไปสูปจจัยสถานการณ (States) สิ่งแวดลอมของพื้นที่ ดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงดานสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดในปจจุบัน เชน การกัดเซาะชายฝงมีความรุนแรงมากขึ้นในระยะ30 ปที่ผานมา การเพิ่มขึ้นของน้ำเสีย ปญหาการลดลงของปริมาณสัตวน้ำจากปญหาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งปริมาณหอยหลอดที่เปนเอกลักษณของพื้นที่ และการใชเครื่องมือประมงที่ไมเหมาะสม เกิดปรากฏการณน้ำทะเลเปลี่ยนสี หรือ “ขี้ปลาวาฬ” ที่ทําใหสัตวน้ำตายเปนจํานวนมาก 2) ดานความตระหนักถึงปญหาและคุณคาพื้นที่ชุ่มน้ำของประชาชนยังไมเพียงพอที่จะสงผลใหสถานการณดีขึ้น และ 3) นโยบาย แผนงาน มาตรการที่มีอยูในปจจุบันไมสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ ขาดการบูรณาการ จากสถานการณที่เกิดขึ้นสงผลกระทบ (Impact) ตอ 1) ระบบนิเวศโดยรวมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดเสื่อมโทรม 2) การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจและสังคม รายไดของชุมชนลดลงเนื่องจากปริมาณสัตวน้ำลดลง เกิดความขัดแยงจากความตองการพัฒนาเศรษฐกิจกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมในพื้นที่ชุ่มน้ำ และ 3) ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำที่ลดลง ปจจัยเชิงบวกที่ชวยบรรเทาหรือลดสาเหตุของสภาพปญหาพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด คือ ปจจัยการตอบสนอง (Responses) ซึ่งการตอบสนองมีหลายระดับแตกตางกันออกไป ดังนี้ 1) อนุสัญญาแรมซาร มีประสิทธิภาพในการใชเปนเหตุเพื่อปกปองพื้นที่ชุ่มน้ำจากการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม การพัฒนาในพื้นที่ แตชุมชนยังมีความเขาใจเกี่ยวกับอนุสัญญาแรมซารที่ไมถูกตองมากนัก 2) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีประสิทธิภาพในลักษณะของการบังคับเชิงกฎหมายเกี่ยวกับการดูแลพื้นที่ชุ่มน้ำโดยตรง และสามารถลดปจจัยตนเหตุไดครอบคลุมมากที่สุด 3) นโยบาย แผน และมาตรการของหนวยงานที่เกี่ยวของ แตแผนหรือมาตรการ ที่เกิดจากแนวคิดของคนในชุมชนเอง มีประสิทธิภาพยั่งยืนกวา นโยบาย แผน และมาตรการจากหนวยงานอื่นๆ เนื่องจากชุมชนมีความเขาใจและใกลชิดกับสภาพปญหาและแนวทางแกไขที่เหมาะสมมากกวาth
dc.format.extent198 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2014.75
dc.identifier.otherb186354th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3301th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherพื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทยth
dc.subject.otherการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทยth
dc.subject.otherพื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทย -- สมุทรสงคราม -- ดอยหอยหลอดth
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ : กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงครามth
dc.title.alternativeFactors affecting the wetland environment in a ramsar site : a case study of Don Hoi Lord, Samutsongkramth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b186354.pdf
Size:
1.13 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections