การใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลือง

dc.contributor.advisorธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorนงค์นภา เกลี้ยงเกลาth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:26:55Z
dc.date.available2014-05-05T09:26:55Z
dc.date.issued2008th
dc.date.issuedBE2551th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008th
dc.description.abstractการใช้น้ําสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสําหรับการผลิตถั่วเหลือง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตของถั่วเหลือง รวมถึงศึกษาลักษณะสมบัติทางเคมีปริมาณธาตุอาหาร และการสะสมโลหะหนักในดิน ได้แก่ ตะกั่วแคดเมียม และปรอท พืชทดลองใช้ถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60 ทําการปลูก ณ แปลงทดลอง ที่สร้างขึ้นบริเวณอาคารชุดที่ 21 การเคหะแห่งชาติคลองจั่น กรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2550 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์หน่วยการทดลองใช้น้ํา สกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 1,000, 2 : 1,000, 3 : 1,000 และ 4 : 1,000 น้ําสกัดชีวภาพอีเอ็มต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 1,000 ปุ๋ยเคมีและหน่วยการทดลอง ควบคุม รวม 7 หน่วยการทดลอง จํานวน 4 ซ้ำ ผลการศึกษา พบว่า น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 2 : 1,000 ส่งผลให้ถั่วเหลืองมีแนวโน้มการเจริญเติบโตในส่วนของน้ำหนักแห่งของฝัก น้ำหนักแห่งรวม ผลผลิต จํานวนฝักต่อต้น น้ำหนักเมล็ด และปริมาณโปรตีนในเมล็ดมากกว่าหน่วยการทดลอง อื่น ๆรวมถึงมีระยะการเจริญเติบโตทางการแพร่ขยายพันธุ์ที่ยาวกว่าปุ๋ยเคมีส่วนความสูง จํานวน ข้อและพื้นที่ใบนั้น ปุ๋ยเคมีมีค่าสูงกว่าเล็กน้อย ข้อเสนอแนะ คือการนําน้ำสกัดชีวภาพมาใช้ต้องอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพราะน้ำสกัด ชีวภาพมีสภาพเป็นกรด หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจทําให้ตกค้างในดินและทําให้พืชมี อาการแคระแกร็นและใบเหลือง (อาการเฝือใบ) ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและปริมาณ ผลผลิตของพืชได้th
dc.format.extent10, 164 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2009th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccS 654.5 น12 2008th
dc.subject.otherน้ำหมักชีวภาพth
dc.subject.otherปุ๋ยชีวภาพth
dc.titleการใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลืองth
dc.title.alternativeThe use of Bio-extracted Water from stemona herb for fertilizer in soybean productionth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b160902.pdf
Size:
17.93 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections