แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุทัยธานี

dc.contributor.advisorจินตนา อมรสงวนสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorรุ้งตะวัน เกิดโภคาth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:27:06Z
dc.date.available2014-05-05T09:27:06Z
dc.date.issued2010th
dc.date.issuedBE2553th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010th
dc.description.abstractวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาครั้งนี้คือศึกษาแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่าง ยั่งยืนของจังหวัดอุทัยธานีโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่กี่ยวข้องและเก็บรวบรวมข้อมูลปฐม ภูมิจากการสํารวจภาคสนาม ใช้แบบตรวจสอบทรัพยากรท่องเที่ยวแบบสอบถามความคิดเห็นของ ประชาชนท้องถิ่นและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว ต่อทรัพยากรท่องเที่ยวผลการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในภายนอกและยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตลอดจนแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้ นที่จังหวัดอุทัยธานี จํานวน 100 และ 82 ราย ตามลําดับ และสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่บุคลากรภาครัฐจํานวน 6 คน วิเคราะห์ข้อมูลในส่วน ของแบบสอบถามโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในส่วนของแบบตรวจสอบทรัพยากรท่องเที่ยววิเคราะห์โดยสรุปเรียบ เรียงเป็นประเด็นและหมวดหมู่ตามลักษณะทรัพยากรท่องเที่ยวและในส่วนของการสัมภาษณ์เชิง ลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยทําการเรียบเรียงเชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้ครอบคลุมตามประเด็นที่ศึกษา และทําการนําเสนอโดยการพรรณนาสรุปเป็นความเรียงเพื่อนําผลไปประกอบการวิเคราะห์ที่ได้จาก แบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้นําเสนอแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน ของจังหวัดอุทัยธานีโดยจัดทําเป็นแผนพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 3 ระยะได้แก่แผนฯระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาวดังนี้ 1. แผนพัฒนาระยะสั้น (1-3ปี) ได้แก่ แผนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแผนการอนุรักษ์และ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น และแผนการเผยแพร่ความรู้และประชาสัมพันธ์การ ท่องเที่ยวแผนพฒนาระยะกลาง (5 ) ได้กำหนดให้มียุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวต่อเนื่อง จากแผนยุทธศาสตร์เดิมเน้นให้มีการดำเนินงานจรงภายในช่วงเวลาที่กําหนดและกำหนดกลยุทธ์ เพิ่มเติมให้ครอบคลุมองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศส่งเสริมผู้ประกอบการด้านการ ท่องเที่ยวในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการให้มีมาตรฐานมากขึ้นประชาสัมพันธ์ข้อมูลท่องเที่ยวให้ครบทรัพยากรท่องเที่ยวทุกด้านและใช้สื่อประชาสัมพันธ์อย่างหลากหลายและจัด เส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มจังหวัด 3. แผนพัฒนาระยะยาว (10 ) ได้แก่จัดให้มีบริการรถโดยสารสาธารณะไปยังแหล่ง ท่องเที่ยวที่สําคัญและกำหนดให้มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ภายในจังหวัดบรรจุในหลักสูตร การเรียนการสอนของเยาวชนในระดับต่างๆth
dc.format.extent14, 303 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2010.62
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2058th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccG 156.5 .E26 ร42 2010th
dc.subject.otherการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- อุทัยธานีth
dc.titleแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุทัยธานีth
dc.title.alternativeGuideline on sustainable ecotourism development of Uthaithani Provinceth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b168113.pdf
Size:
32.84 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections