ความตระหนักและการยอมรับการนำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาใช้ในองค์การภาครัฐ : ศึกษากรณีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

dc.contributor.advisorจำลอง โพธิ์บุญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ ธนเจริญพิศาลth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:27:04Z
dc.date.available2014-05-05T09:27:04Z
dc.date.issued2011th
dc.date.issuedBE2554th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011th
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตระหนักและการยอมรับของบุคลากรใน การนําระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมมาใช้ และเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กบความตระหนัก และการยอมรับการนําระบบฯ มาใช้ในสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สผ.) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามบุคลากรของ สผ.ที่เป็นกลุมตัวอย่าง จํานวน 224 คน และสัมภาษณ์ผู้บริหารและตัวแทนคณะทํางาน ISO 14001 จํานวน 13 ทาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐานคือ ค่า ttest, Ftest การทดสอบเพื่อ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี LSD และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 70.1 มีชวงระดับอายุ ระหว่าง 26-33 ปีมากที่สุดร้อยละ 46.4 จบการศึกษาปริญญาตรีขึนไปมากที่สุดร้อยละ 95.5 มีอายุ งานน้อยกว่า 5 ปีมากที่สุดร้อยละ 36.6 สังกัดสํานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมากที่สุดร้อยละ 25.0 มีตําแหน่งงานเป็นข้าราชการมากที่สุดร้อยละ 45.5 กลุ่มตัวอย่างเคยได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในหลักสูตรลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 59.4 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างรับรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับระบบการจัดการสิงแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีความตระหนักในระบบการจัดการสิงแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีการยอมรับการนําระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมมาใช้ในระดับค่อนข้างสูงผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม มี 2 ปัจจัยคือ การฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม และความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการนําระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 มาใช้ในองค์การมี 3 ปัจจัยคือ อายุ ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการจัดการ สิงแวดล้อม ISO 14001 และความตระหนักถึงความสําคัญของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครังนี้ คือ 1) ควรจัดการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทุกสาย งานอย่างทั่วถึง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจความตระหนักและการยอมรับระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมแก่บุคลากร 2) ผู้บริหารควรแสดงความใส่ใจและเป็นผู้นําในการจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยสนับสนุนทั้งในด้านนโยบาย งบประมาณ และให้ความร่วมมือเพื่อเป็นขวัญ กำลังใจให้แก่คณะทํางาน 3) สร้างวัฒนธรรมองค์การให้เห็นถึงความสําคัญของระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม เนื่องจาก สผ. เป็นหน่วยงานหลักของประเทศในด้านสิ่งแวดล้อมth
dc.format.extent14, 156 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2011.67
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2048th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมth
dc.subject.lccTS 155.7 อ51 2011th
dc.subject.otherการจัดการสิ่งแวดล้อม -- ไทยth
dc.subject.otherการจัดการสิ่งแวดล้อม -- มาตรฐานth
dc.subject.otherไอเอสโอ 14001th
dc.titleความตระหนักและการยอมรับการนำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาใช้ในองค์การภาครัฐ : ศึกษากรณีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมth
dc.title.alternativePersonnel's awareness and acceptance on implementation of environmental management system (ISO 14001) in public organization : a case study of office of natural resources and environmental policy and planningth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b172366.pdf
Size:
27.79 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections