การศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมือง 4 รุ่น:กรณีศึกษาอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Files
Publisher
Issued Date
2020
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
148 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b210688
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อรวรรณ สว่างอารมณ์ (2020). การศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมือง 4 รุ่น:กรณีศึกษาอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา . Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5104.
Title
การศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมือง 4 รุ่น:กรณีศึกษาอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Alternative Title(s)
A study of four generations' political cultures: a case study of Wangnoi District of Phra Nakhon Sri Ayutthaya
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมือง 4 รุ่น: กรณีศึกษาอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการศึกษาตามแนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมืองทั้ง 4 รุ่น ได้แก่ เบบี้บูมเมอร์ส, เจเนอเรชั่นเอ็กซ์, เจเนอเรชั่นวาย, และ เจเนอเรชั่นแซด ในพื้นที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ 2) เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมืองทั้ง 4 รุ่น ใช้วิธีการศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และใช้วิธีการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล รวมถึงการสังเกตการณ์ร่วมด้วย โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 20 คน แบ่งออกเป็น 4 รุ่น ได้แก่ เบบี้บูมเมอร์ส, เจเนอเรชั่นเอ็กซ์, เจเนอเรชั่นวาย, และ เจเนอเรชั่นแซด รุ่นละ 5 คน โดยในแต่ละรุ่นผู้ให้ข้อมูลแต่ละคนมีอาชีพต่างกัน
จากการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมทางการเมืองของพลเมืองทั้ง 4 รุ่น มีความคล้ายคลึงกัน และความแตกต่างกันไปในบางประการ โดยแต่ละรุ่นต่างมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าผสมการมีส่วนร่วม (The Subject-Participant Culture) เหมือนกันในทั้ง 4 รุ่น แตกต่างที่ในเจเนอเรชั่นวาย และเจเนอเรชั่นแซดมีพฤติกรรมที่มีแนวโน้มว่าเข้าใกล้รูปแบบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม (The Participant Political Culture) มากกว่าเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ซึ่งความแตกต่างนี้เป็นผลมาจากกระบวนการกล่อมเกลาที่ต่างกันนั้น สร้างความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติทางการเมือง กลายเป็นแบบแผนพฤติกรรมทางการเมืองที่แตกต่างกันไปด้วย อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมทางการเมืองยังถือเป็นสิ่งที่มีบทบาทต่อการสร้างความเหมือน และความต่างของวัฒนธรรมทางการเมืองของคนในแต่ละรุ่น
A Study of Political Cultures among Four Generation: A Case Study of Wong Noi District of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province aims at: (a) studying political cultures of four generations comprising of Baby Boomers, Generation X (Gen. X), Generation Y (Gen. Y), and Generation Z (Gen. Z); and (2) comparing four generations’ political cultures. The research made use of qualitative methods through documentary research, interview and observation. About 20 key informants who gave interviews were from those four generations in which each generation comprised 5 key informants with various careers. A study has found that all four generations have both similar and different political cultures. While each generation has the subject-participant political culture, Gen. Y and Gen. Z incline to become the participant political culture. This difference derived from their political socializations that created their political beliefs, values and attitudes. Moreover, these political socializations have fashioned their different patterns of political behavior. In the meantime, the social and political cultural changes have affected the similarity and dissimilarity of each generations’ political culture.
A Study of Political Cultures among Four Generation: A Case Study of Wong Noi District of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province aims at: (a) studying political cultures of four generations comprising of Baby Boomers, Generation X (Gen. X), Generation Y (Gen. Y), and Generation Z (Gen. Z); and (2) comparing four generations’ political cultures. The research made use of qualitative methods through documentary research, interview and observation. About 20 key informants who gave interviews were from those four generations in which each generation comprised 5 key informants with various careers. A study has found that all four generations have both similar and different political cultures. While each generation has the subject-participant political culture, Gen. Y and Gen. Z incline to become the participant political culture. This difference derived from their political socializations that created their political beliefs, values and attitudes. Moreover, these political socializations have fashioned their different patterns of political behavior. In the meantime, the social and political cultural changes have affected the similarity and dissimilarity of each generations’ political culture.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การเมืองและยุทธศาสตร์การพัฒนา))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563
504