การประกอบสร้างชุดสัญญะแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อบุคคลพิการทางสายตาของนิทรรศการบทเรียนในความมืด
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
241 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b196937
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อนุรักษ์ จันทร์ดำ (2016). การประกอบสร้างชุดสัญญะแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อบุคคลพิการทางสายตาของนิทรรศการบทเรียนในความมืด. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5260.
Title
การประกอบสร้างชุดสัญญะแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อบุคคลพิการทางสายตาของนิทรรศการบทเรียนในความมืด
Alternative Title(s)
Constructing the set of enlightening signs for enhancing positive attitude towards blind people: a study of dialogue in the dark exhibition
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารในนิทรรศการบทเรียนใน ความมืด 2) เพื่อวิเคราะห์สัญญะที่สำคัญ ในการสะท้อนเป้าหมายหลัก ที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นแก่ ผู้รับสารของนิทรรศการบทเรียนในความมืดจากเวทนาเป็ นยอมรับและเข้าใจโดยใช้สัญวิทยาใน การวิเคราะห์ถอดสัญญะความหมายการสื่อสาร โดยผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 3 ประเภท ได้แก่ 1) เอกสาร (Online and Offline Documents) 2) ก ารสังเกตการณ์ จาก ผู้วิจัย (Observation) และ 3) การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้อยู่เบื้องหลัง (In-Depth Interview) ได้แก่ นักวิชาการ ผู้ดูแลนิทรรศการ และผู้นำทางและกลุ่มตัวอย่า งอย่างผู้เข้าร่วมประสบการณ์นิทรรศการบทเรียนใน ความมืด ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบการสื่อสารของนิทรรศการบทเรียนในความมืดคือ การให้ ผู้เข้าร่วมประสบการณ์ได้ใช้ประสาทสัมผัสท้ังหมดยกเว้นการมองเห็น เพื่อให้ผู้เข้าร่วม ประสบการณ์ได้รับประสบการณ์ในความมืดเสมือนเป็นผู้พิการทางสายตาผ่านการจำลอง สถานการณ์ในชีวิตประจำวัน โดยภายในนิทรรศการบทเรียนในความมืดจะคอยมีผู้นำทางนำทาง นำตลอดจนจบนิทรรศการ ซึ่งผู้นำทางจะไม่ได้ทำการบอกว่า ตนเองเป็นผู้พิการทางสายตาและจะมี การเฉลยในตอนท้ายของนิทรรศการจนนำไปสู่การพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติระหว่างกันของ ผู้เข้าร่วมประสบการณ์ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมประสบการณ์ได้ตระหนักถึงความสามารถ ความคิด ทัศนคติของผู้พิการทางสายตาจนนำไปสู่การเข้าใจและยอมรับในที่สุด นอกจากนี้ผลการศึกษาสัญญะที่สำคัญในการสะท้อนเป้าหมายหลักที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้น แก่ผู้รับสารของนิทรรศการบทเรียนในความมืดจาก “เวทนา” เป็ น “ยอมรับและเข้าใจ”มีท้ัง 4 สัญญะ คือ 1) บทสนทนา 2) ความมืด 3) ผู้นำทาง 4) ผู้เข้าร่วมประสบการณ์ซึ่งสัญญะที่สำคัญข้างต้นเป็นปัจจัยที่นำ ไปสู่การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ตามแกนหลักของกระบวนการเรียนรู้เพื่อ การเปลี่ยนแปลง ท้ังนี้ผลการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมประสบการณ์พบว่า ผู้เเข้าร่วม ประสบการณ์ มีทัศนคติที่เข้าใจและยอมรับในตัวผู้พิการทางสายแต่ก็ย้งคงมีความสงสารเวทนาอยู่ จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่านิทรรศการบทเรียนในความมืดสามารถสร้างการยอมรับและ เข้าใจต่อผู้พิการทางสายตาได้ซึ่งควรต่อยอดไปสู่การสื่อสารผ่านสื่อกิจกรรมอื่นๆ เพื่อเปลี่ยนแปลง ทัศนคติของความสงสาร เวทนา ต่อผู้พิการทางสายตาได้อย่างแท้จริง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559