• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊ก

by ณพล ผลากรกุล

Title:

ผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊ก

Other title(s):

Effect and media literacy guideline for facebook advertising

Author(s):

ณพล ผลากรกุล

Advisor:

บุหงา ชัยสุวรรณ

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2016.75

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบ และสร้างแนวทางสร้างการรู้เท่าทันสื่อ ต่อโฆษณาบนเว็บไซต์เครือข่ายสังคมประเภทเฟซบุ๊ก ด้วยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมดจํานวน 15 คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ที่ทํางานเกี่ยวข้องกบการผลิตสื่อโฆษณา กลุ่มตัวแทนผู้บริโภค และเฝ้ าระวังสื่อ และกลุ่มนักวิชาการด้านสื่อมวลชน โดยผลการวิจัยพบดังนี้ 1) สภาวะปัญหาต่างๆ และผลกระทบทางด้านลบของโฆษณาบนสื่อสังคม ประเภทเฟซบุ๊กแบ่งออกเป็น (1.1) สภาวะปัญหาเกี่ ยวกบความสามารถในการแยกแยะโฆษณา ( 1.2) สภาวะปัญหาของกลุ่มคนที่ผลิตโฆษณาขาดความรับผิดชอบ (1.3) ปัญหาในการสร้างค่านิยม 2) ประเภทของการโฆษณาบนสื่อสังคมประเภทเฟซบุ๊กที่มีปัญหา และผลกระทบ ต่อผู้บริโภค คือ แหล่งที่มาประเภทผู้ประกอบธุรกิจรายย่อย และแหล่งที่มาประเภทบุคคล 3) ปัญหาของกฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรม ที่ควบคุมผู้ผลิตสื่อโฆษณา บนสื่อสังคมแบ่งออกเป็น (3.1) ปัญหาเกี่ ยวกบการบังคับใช้กฎหมาย ( 3.2) การขาดความรู้ทางด้าน กฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรมของผู้ผลิตโฆษณา (3.3) การใช้กฎหมาย หรือจริยธรรมที่ไม่ได้ผล 4) พฤติกรรมการโฆษณาบนสื่อสังคมประเภทเฟซบุ๊กที่ละเมิดกฎหมาย หรือไม่ เหมาะสมต่อจรรยาบรรณ และจริยธรรมที่แบ่งออกเป็ น (4.1) พฤติกรรมการโฆษณาสินค้าที่ไม่ สามารถโฆษณาได้ในสื่อหลัก (4.2) การโฆษณาที่กล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง (4.3) การโฆษณาที่ ละเมิดกฎหมาย 5) ความสําคัญเกี่ยวกับ การรู้เท่าทันสื่อ ในการเปิ ดรับโฆษณาบนสื่อสังคม ประเภทเฟซบุ๊กในประเทศไทย คือ สําคัญต่อผู้บริโภคเป็นอยางมาก 6) แนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนสื่อสังคม ได้แก่กระบวนการที่ผู้รับสาร ต้องสามารถดําเนินการ ดังนี้ แยกแยะความเป็นโฆษณา รับชมเนื้อหาในครบถ้วน ไตร่ตรองความ เป็นจริง รับรู้จุดประสงค์ ตรวจสอบแหล่งที่มา หาข้อมูลเพิ่ มเติม เช็คความคิดเห็น ระวังการกดไลค์ และแสดงความคิดเห็น และส่งต่อด้วยความจริง

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

สื่อสังคมออนไลน์|โฆษณาทางอินเทอร์เน็ต
โฆษณาทางอินเทอร์เน็ต

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

129 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5415
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b193279.pdf ( 2,075.01 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [178]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×