การวิเคราะห์องค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาด
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
215 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193290
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชลิดา อู่ผลเจริญ (2015). การวิเคราะห์องค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาด. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5425.
Title
การวิเคราะห์องค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาด
Alternative Title(s)
Experiential marketing elements : an analysis of augmented reality in marketing communication campaigns
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยคร้ังนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้ เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาดและศึกษาแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีความ จริงเสริมในแคมเปญการสื่อสารการตลาดในอนาคต โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การ วิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพและการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิจัยนี้วิเคราะห์ผลงานที่นำเสนอใน แคมเปญโฆษณาจาก “Cannes Lions 2015” ที่ผสมผสานเทคโนโลยีความจริงเสริมกับการสื่อสาร การตลาด จำนวน 10 แคมเปญ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์องค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ และปัจจัยส่วนประสมการตลาด สำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ นักการตลาดและโฆษณา นักวิชาการ และตัวแทนหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกบั เทคโนโลยคีวามจริงเสริม ทั้งหมดจำนวน 8คน ผลการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพพบว่า แคมเปญการสื่อสารการตลาดที่ใช้ทคโนโลยี ความจริงเสริมส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภคบริ โภคและเทคโนโลยี เพื่อการโฆษณา การ ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการขาย แคมเปญการสื่อสารการตลาดที่ใช้เทคโนโลยีความจริง เสริมส่วนใหญ่สร้างการรับรู้การตลาดเชิงประสบการณ์จากประสาทสัมผัส (Sense) และความรู้สึก (Feel) มากที่สุด ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่า แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมในการตลาดเชิง ประสบการณ์ในอนาคต มุ่งเน้นการพัฒนาเนื้อหาการตลาดควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยคีวามจริง เสริมเพื่อสร้างประสบการณ์เชิงบวกและสร้างความผูกพันให้มีต่อแบรนด์
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558