การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนป่าชายเลนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Files
Publisher
Issued Date
2020
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
198 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b212364
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วิภาภรณ์ เครือจันทร์ (2020). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนป่าชายเลนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5561.
Title
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนป่าชายเลนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Alternative Title(s)
Participatory action research in development of community based tourism management system for sustainable development : a case study of a mangrove forest community in Nakhon Si-Thammarat Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน และแนวทางการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ในกรณีของชุมชนป่าชายเลนจังหวัดนครศรีธรรมราชแห่งหนึ่ง การศึกษาครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการจัดการเชิงยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการวิจัยพบว่า การท่องเที่ยวโดยชุมชนป่าชายเลนแห่งนี้ มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ดึงดูดใจจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน คือ สปาโคลนและอาหารทะเลสด มีการดำเนินการท่องเที่ยวโดยกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน ซึ่งการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีปัญหาสำคัญ คือ 1) ขาดการวางแผนงาน 2) ขาดการจัดโครงสร้างองค์การที่ชัดเจน และ 3) ชุมชนมีส่วนร่วมที่จำกัด ผู้เข้าร่วมในกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมได้ร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2) การพัฒนาสินค้าท้องถิ่นและกิจกรรมการท่องเที่ยว 3) สร้างความร่วมมือในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4) ส่งเสริมการตลาดเชิงรุกด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน และ 5) การสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน
The objectives of this research are to study problems and obstacles for managing community-based tourism (CBT) and search guidelines for a system of community-based tourism management for sustainable development. The method of participatory action research is used through community participation in analyzing problems and formulating a strategic plan for community-based tourism management for sustainable development. The research finds that the attractive activities from this mangrove forest community-based tourism are derived from natural resources in the community, namely mud spa and fresh seafood managed by Mangrove Forest Conservation Group. The important management problems of the CBT are comprised of lack of planning, lack of clear organizational structure, and limited community participation. The team of participants jointly formulated five strategic issues for development – including 1) developing management system and developing staffs’ capabilities for support of the CBT, 2) development of community products and tourism activities, 3) creating cooperation for the management of the CBT, 4) promoting proactive marketing of the CBT, and 5) creating relationship within the community and with their networks for sustainable development.
The objectives of this research are to study problems and obstacles for managing community-based tourism (CBT) and search guidelines for a system of community-based tourism management for sustainable development. The method of participatory action research is used through community participation in analyzing problems and formulating a strategic plan for community-based tourism management for sustainable development. The research finds that the attractive activities from this mangrove forest community-based tourism are derived from natural resources in the community, namely mud spa and fresh seafood managed by Mangrove Forest Conservation Group. The important management problems of the CBT are comprised of lack of planning, lack of clear organizational structure, and limited community participation. The team of participants jointly formulated five strategic issues for development – including 1) developing management system and developing staffs’ capabilities for support of the CBT, 2) development of community products and tourism activities, 3) creating cooperation for the management of the CBT, 4) promoting proactive marketing of the CBT, and 5) creating relationship within the community and with their networks for sustainable development.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563