• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การประเมินโครงการบ้านมั่นคง: กรณีศึกษาชุมชนตำบลบางโปรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

by ปิยะราช เทพสุภา

Title:

การประเมินโครงการบ้านมั่นคง: กรณีศึกษาชุมชนตำบลบางโปรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

Other title(s):

Evaluation of Bann Mankong Project: A Case Study of Tambon Bang Prong Community, Muang District, Samutprakarn Province

Author(s):

ปิยะราช เทพสุภา

Advisor:

สุรสิทธิ์ วชิรขจร

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Publisher:

สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การประเมินโครงการบา้นมนั่ คง:กรณีศึกษา ชุมชนตำบลบางโปรง อำเภอเมือง จังหวัด สมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินการดำเนินงานโครงการบ้านมั่นคง ชุมชนตำบลบาง โปรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ในด้านปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ์ 2) ศึกษาปัญหา อุปสรรคทั้งให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานโครงการบ้านมั่นคง
วิธีการศึกษาในครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยการประเมินผล(Evaluation Research) ได้นำ แบบจำลองการประเมินตัวแบบระบบ (Input-Output Model) มาประยุกต์ใช้ในการกำหนดกรอบ แนวคิดของการประเมิน โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับโครงการ 2 กลุ่ม ได้แก่ 1)กลุ่มครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในโครงการบ้านมั่นคงชุมชนตำบลบางโปรง จำนวน 150 หน่วย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 2) คณะกรรมการชุมชน ผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และผู้ประสานงานจากสถาบันพัฒนาองคก์รชุมชน (พอช.) ในพื้นที่โครงการจำนวน 8คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แนวทางการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า
1) ผลการดำเนินการตามโครงการในภาพรวม ได้แก่ (1)การประเมินปัจจยัการนำเข้าสู่ โครงการ ปรากฏว่า ปัจจยัการนำเข้าสู่โครงการมีความเหมาะสมและเพียงพอต่อดำเนินงานตาม โครงการ (2) การประเมินกระบวนการดำเนินงาน ปรากฏว่าการดำเนินงาน และการประสานงาน สามารถดำเนินงานได้อยู่ในระดับมาก (3) การประเมินผลผลิต ปรากฏว่า การมีส่วนในกิจกรรมตาม โครงการในภาพรวมอยู่ภายในระดับมาก และความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับความ
พึงใจมาก(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67) (4)การประเมินผลลพัธ์ปรากฏว่า โครงการบ้านมั่นคงชุมชนตำบล บางโปรง มีผลการประเมินอยู่ในนระดับมาก(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64)
2) ปัญหาอุปสรรค และข้อคิดเห็นในการดำเนินงาน พบว่า (1) สมาชิกในโครงการมีความ สามัคคีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการเป็นอย่างดี (2) มติที่ได้จากการประชุมชนร่วมกันของ สมาชิกเป็นแนวทางที่ดีในการดำเนินงานตามโครงการ (3)การออมทรัพยใ์ห้ตรงต่อเวลาเป็นกติกา ที่สมาชิกต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
3) ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ระยะเริ่มต้นการดำเนินโครงการเจ้าหน้าที่และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องข้องกับโครงการต้องเป็นพี่เลี้ยงในการประสานงานอย่างใกล้ชิด (2) ควรจัดสรร งบประมาณให้มีความเหมาะสมเพียงพอกับส่วนต่างราคาวัสดุอุปกรณ์ที่มีการปรับขึ้นอยู่ตลอดเวลา (3) การบริการจัดการออมทรัพยอ์ย่างเป็นระบบ วินัยในการออมเงินและชำระเงินกู้ตรงต่อเวลา ซึ่ง ส่งผลให้โครงการมีสภาพคล่องทางการเงินมีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงาน (4) สมาชิกที่เข้า โครงการบ้านมั่นคงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นควรสนับสนุนโครงการบ้านมั่นคงอย่างต่อเนื่อง

Subject(s):

โครงการบ้านมั่นคง -- การประเมิน

Keyword(s):

ชุมชนตำบลบางโปรง

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

178 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5865
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b201165.pdf ( 2,760.12 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×