ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าสู่ตลาดแรงงานเสรีประชาคมอาเซียนด้านวิชาชีพของพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
by ศิริพันธ์ หงษ์ทรัพย์ภิญโญ; ศิริพันธ์ หงษ์ทรัพย์ภิญโญ
Title: | ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าสู่ตลาดแรงงานเสรีประชาคมอาเซียนด้านวิชาชีพของพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Other title(s): | Factors influencing teaching hospital nurses' intention to enter free ASEAN Economic Community Professional Workforce : a case study of Thammasat University Hospital Factors influencing teaching hospital nurses' intention to enter free ASEAN Economic Community Professional Workforce : a case study of Thammasat University Hospital |
Author(s): | ศิริพันธ์ หงษ์ทรัพย์ภิญโญ
ศิริพันธ์ หงษ์ทรัพย์ภิญโญ |
Degree name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree level: | Master's |
Degree discipline: | สถิติประยุกต์ |
Degree department: | คณะสถิติประยุกต์ |
Degree grantor: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Issued date: | 2015 |
Digital Object Identifier (DOI): | 10.14457/NIDA.the.2015.113 |
Publisher: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Abstract: |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าสู่ตลาดแรงงานเสรี
ประชาคมอาเซียนด้านวิชาชีพของพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย กรณีศึกบามหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ประชากรในการศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ขนาด
371 คน ซึ่งเป็นขนาดตัวอย่างที่ทำให้ความคลาดเคลื่อนของการประมาณค่าสัดส่วน (e)มีค่าไม่เกิน
0.027 ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.95 จากนั้นได้กำหนดขนาคตัวอย่างตามสัดส่วนประเกทประชากรใน
โรงพยาบาล ซึ่งได้ขนาดตัวอย่างประเภทข้าราชการจำนวน 93 คน และพนักงานมหาวิทยาลัย
จำนวน 278 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุแบบ
ขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ .0ร
ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าสู่ตลาดแรงานเสรีประชาคมอาเชียนด้าน
วิชาชีพของพยาบาล ได้แก่ ปัจยส่วนบุคคล ประกอบด้วย อายุ การมีผู้อยู่ในอุปการะ ระดับ
การศึกษาสูงสุด และลักษณะรายได้ครอบครัวแบบพอใช้เหลือเก็บ ในส่วนของปัจจัยดึงดูง (Pull
tors) ประกอบด้วข ด้านความก้าวหน้าทางวิชาชีพ และด้านสถาบัน และปัจจัยผลัก
Factors) ได้แก่ ด้านความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุดูณ เท่ากับ .573
และสามารถอธิบายความแปรปรวนของความความตั้งใจเข้าสู่ตลาดแรงงานเสรีประชาคมอาเซียน
ด้านวิชาชีพของพยาบาล ได้ร้อยละ 32.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โคยมีค่าความ
คลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ เท่ากับ + 2.2 |
Description: |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558 |
Subject(s): | ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน |
Keyword(s): | วิชาชีพพยาบาล
วิชาชีพพยาบาล |
Resource type: | วิทยานิพนธ์ |
Extent: | 100 หน้า |
Type: | Text |
File type: | application/pdf |
Language: | tha |
Rights: | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) |
URI: | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6245 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
|
View ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
This item appears in the following Collection(s) |
|
|