GSTM: Theses
Recent Submissions
แนวทางการพัฒนาการจัดการท่าเรือสำหรับการท่องเที่ยวเรือสำราญของประเทศไทย กรณีศึกษาท่าเรือแหลมฉบัง
(สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
; งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว
เรือสำราญ 2) เพื่อประเมินศักยภาพของการจัดการท่าเรือแหลมฉบังในปัจจุบัน 3) เพื่อเสนอแนว
ทางการพัฒนาท่าเรือการจัดการท่าเรือแหลมฉบังของประเทศไทย ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน
(Mixed Research Methodology) ร่วมกันระหว่างการวิจัยแบบปริมาณ ใช้แบบสอบถาม
(Questionnaire) เป็นเครื่องมือ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางมากับเรือสำราญที่
ใช้บริการท่าเรือแหลมฉบังจำนวน 400 คน และระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง
(Semi-structured In...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเพศหญิงชาวต่างชาติที่เดินทางท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจลักษณะปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ ปัจจัยผลักดัน
ทางการท่องเที่ยวจากภายใน ปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวจากภายนอก ปัจจัยประสบการณ์การ
ท่องเที่ยวในอดีต และปัจจัยอุปสรรคทางการท่องเที่ยว 2) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยด้านประชากรศาสตร์
ปัจจัยผลักดันทางการท่องเที่ยวจากภายใน ปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวจากภายนอก ปัจจัย
ประสบการณ์การท่องเที่ยวในอดีต และปัจจัยอุปสรรคทางการท่องเที่ยว ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการ
ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเพศหญิงชาวต่างชาติในกรุงเทพมหานคร โดยรวบรวมข้อมูลจาก
แบบสอบถามจำนวน 325 ชุด จากนักท่องเ...
แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวแบบฟาร์มสเตย์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
แนวทางการพัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยว เส้นทางตาก–แม่สอด เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโพนแบบมีส่วนร่วม อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานเพื่อเสริมสร้างความทุ่มเทมีใจของพนักงานส่วนหน้า (Employee engagement) ของอุตสาหกรรมโรงแรมในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; แนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริการด้านที่พักเพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
; พฤติกรรมและทัศนคตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติต่อการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครหลังการเกิดวิฤติการณ์ทางการเมือง พ.ศ. 2556-2557
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; The new phenomenon of slow food tourism development : the evaluation of tourists's perspectives focuses on the process of adoption, diffusion and perceived value
(National Institute of Development Administration, 2016)
; This study explores slow food tourism by analyzing tourists’ perspective on
how slow food tourism has been developed, including how slow food tourism has
been adopted and diffused and evaluate the current market of slow food tourism
through value perception. Currently, food development in tourism tends to increase
the number of tourists and revenue (Mazza, 2013). Studying about Product Life Cycle
(PLC) strategies (Steffens, 2002) and tourists’ perceived value (Ashton, Scott and
Solmet and Breakey, 2010) help to understand the trend of tou...
แนวทางการพัฒนาการสื่อสารทางการตลาดของแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
การรับรู้ของประชากรศาสตร์ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
แนวทางการส่งเสริมศักยภาพธุรกิจการจัดประชุมเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันในเขตเมืองศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
การพัฒนาตัวบ่งชี้มูลค่าทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทเกาะท่องเที่ยวทางทะเลของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
การศึกษาอิทธิพลของการได้รับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
ความคาดหวังกับการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัย กรณีศึกษา : จังหวัดกาญจนบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
; -
แนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริการด้านที่พักเพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
; -